ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จีเอ็มเอ็มทีวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pyro z (คุย | ส่วนร่วม)
Pyro z (คุย | ส่วนร่วม)
อัปเดตลิงก์อ้างอิงและข้อมูลทางการเงินของบริษัท
บรรทัด 13:
| key_people = สถาพร พานิชรักษาพงศ์
| industry = [[โทรทัศน์]]
| revenue = 616816.1189 ล้านบาท {{เทาเล็ก|(พ.ศ. 25602562)}}<ref name="smelinkmatchlink" />
| reg_no = 0105538092304
| net_income = 66106.3842 ล้านบาท {{เทาเล็ก|(พ.ศ. 25602562)}}<ref name="smelinkmatchlink" />
| cap = 20,000,000 บาท
| homepage = {{URL|https://www.gmm-tv.com}}
| revenue = 616.11 ล้านบาท {{เทาเล็ก|(พ.ศ. 2560)}}<ref name="smelink" />
| net_income = 66.38 ล้านบาท {{เทาเล็ก|(พ.ศ. 2560)}}<ref name="smelink" />
| homepage = {{URL|www.gmm-tv.com}}
}}
 
เส้น 29 ⟶ 27:
|image3=GMMTV Logo.svg|caption3=พ.ศ. 2557–ปัจจุบัน
}}
'''จีเอ็มเอ็มทีวี''' (เดิมชื่อ แกรมมี่ เทเลวิชั่น) จดทะเบียนบริษัทเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ด้วยทุนจดทะเบียน 20,000,000 บาท<ref name="smelinkmatchlink">[{{cite web |title=บริษัท จีเอ็มเอ็ม ทีวี จำกัด |url=https://smelinkwww.netmatchlink.asia/companyth/business/page/Thailand/BANGKOK/80440-gmm-tv-co-ltd.html บริษัท จีเอ็มเอ็มทีวี จำกัด] smelink|website=matchlink.netasia |access-date=2021-05-01}}</ref> โดยมีวัตถุประสงค์จากการที่ผู้บริหารของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เล็งเห็นศักยภาพที่จะพัฒนาให้ธุรกิจโทรทัศน์เติบโต แข็งแรง มั่นคง จึงได้แยกฝ่ายการตลาดของบริษัทออกมาเป็นบริษัทเพื่อบริหารงานทางด้านธุรกิจโทรทัศน์โดยเฉพาะ และเริ่มผลิตรายการเกมโชว์และรายการเพลงต่าง ๆ ให้แก่สถานี[[โทรทัศน์ระบบแอนะล็อก]]จำนวน 5 ช่องในขณะนั้น (ยกเว้น[[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย|เอ็นบีที]]) โดยมี ดวงใจ หล่อเลิศวิทย์ และ ฉอด - [[สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา]] เป็นกรรมการผู้จัดการบริษัทในเวลานั้นตามลำดับ<ref>[http://digi.library.tu.ac.th/undergrad/jc/1084/10APPENDICES.pdf 10APPENDICES.pdf] หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</ref><ref>[http://digi.library.tu.ac.th/undergrad/jc/0135/06CHAPTER_2.pdf 06CHAPTER_2.pdf] หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</ref>
 
โดยในปี พ.ศ. 2550 ฉอด - [[สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา]] ได้ถอนตัวออกจากบริษัท มีผลให้ถา - สถาพร พานิชรักษาพงศ์ ซึ่งเดิมมีตำแหน่งเป็นรองกรรมการผู้จัดการ ได้ขึ้นเป็นกรรมการผู้จัดการแทน พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อของบริษัทใหม่เป็น '''บริษัท จีเอ็มเอ็มทีวี จำกัด''' ซึ่งเป็นชื่อที่คนรู้จักกันเรื่อยมาจนปัจจุบัน ต่อมาเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 บริษัทก็ได้เริ่มดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิลทีวีในชื่อ [[แบงแชนแนล]] โดยย้ายรายการบางส่วนที่เคยผลิตสำหรับออกอากาศทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5]] มาไว้ในช่องของตนเอง และเริ่มผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทใหม่ ๆ รวมถึงละครชุดเพิ่มมากขึ้น และในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554 จีเอ็มเอ็มทีวีได้ร่วมทุนกับ [[รุ่งธรรม พุ่มสีนิล]] ก่อตั้ง[[มีมิติ|บริษัท มีมิติ จำกัด]] เพื่อสร้างปรากฏการณ์ใหม่ ๆ ให้กับวงการโทรทัศน์ไทย โดยจีเอ็มเอ็มทีวีถือหุ้น 70% ขณะที่รุ่งธรรมถือหุ้น 30% มีมิติจึงเป็นบริษัทลูกของจีเอ็มเอ็มทีวีไปโดยปริยาย<ref>{{Cite book|last=เฟื่องวัฒนานนท์|first=สุรเชษฐ์|url=https://issuu.com/ar.grammythai/docs/20130401-grammy-ar2012th|title=GRAMMY: Annual Report 2012|year=25562012|page=50|accessdateaccess-date=2020-07-25 กรกฎาคม 2563}}</ref>
 
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการปรับโครงสร้างธุรกิจของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จึงมีมติให้โอนหุ้นที่จีเอ็มเอ็มทีวีถือไว้ในมีมิติทั้ง 70% ให้แก่[[เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์]] หรือกลุ่มช่องวัน 31 เป็นผู้ถือหุ้น ทำให้มีมิติถูกย้ายไปเป็นบริษัทลูกของเดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ ไปโดยปริยาย<ref name=":0">{{Cite web|author=[[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]]|date=2015-06-24 มิถุนายน 2558|title=ที่ GRAMMY 017/2558|url=http://grammy.listedcompany.com/newsroom/240620151956090679T.pdf|accessdateaccess-date=2020-07-25 กรกฎาคม 2563|website=grammy.listedcompany.com}}</ref> และเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ปีเดียวกัน ที่ประชุมคณะกรรมการของจีเอ็มเอ็มทีวี มีมติเด็ดขาดว่า จะให้บริษัทยุติบทบาทในการเป็นผู้บริหารทีวีดาวเทียมและเคเบิลทีวีลง และมุ่งเน้นการผลิตรายการสำหรับ[[ช่องวัน|ช่องวัน 31]] และ[[จีเอ็มเอ็ม 25]] แทน ทำให้ช่องแบงแชนแนลต้องยุติการออกอากาศตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคมเป็นต้นไป<ref>[https://www.facebook.com/gmmtvofficial/photos/a.332014076223.193794.81944441223/10153689279946224/ ขอขอบคุณผู้ชมทุกท่านที่ติดตามรับชม และสนับสนุน bang channel มาโดยตลอด] เฟซบุ๊ก</ref>
 
วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2560 หลังจาก[[อเดลฟอส|บริษัท อเดลฟอส จำกัด]] ในเครือ[[กลุ่มทีซีซี]] เข้าจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนในบริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล เทรดดิ้ง จำกัดแล้ว จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จึงมีการปรับโครงสร้างธุรกิจให้สอดคล้องกับสัญญาจองซื้อหุ้นข้างต้น โดยที่ประชุมคณะกรรมการจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีมติให้โอนหุ้นของตนที่ถืออยู่ในจีเอ็มเอ็มทีวีทั้งหมดให้แก่บริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล เทรดดิ้ง จำกัด (ปัจจุบันใช้ชื่อ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล โฮลดิ้ง จำกัด) หรือกลุ่มธุรกิจจีเอ็มเอ็ม 25 เป็นผู้ถือหุ้นแทน ทำให้จีเอ็มเอ็มทีวีมีสถานะเป็นบริษัทลูกของจีเอ็มเอ็ม 25 ไปโดยปริยาย และมีฉอด - [[สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา]], ปณต และฐาปน สิริวัฒนภักดี เป็นผู้มีอำนาจควบคุมทางอ้อม<ref>{{Cite web|date=2017-08-24|title=การเข้าร่วมลงนามในสัญญาจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนในบริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล เทรดดิ้ง จำกัด|url=https://grammy.listedcompany.com/newsroom/240820171248000102T.pdf|url-status=live|access-date=2021-04-23|website=[[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]]}}</ref>
เส้น 42 ⟶ 40:
 
== ศิลปินในสังกัด ==
[[ศิลปิน]]ภายใต้สังกัดจีเอ็มเอ็มทีวีในปัจจุบันมีดังนี้ <ref>{{cite web |title=GMMTV ARTISTS |url=https://www.gmm-tv.com/artists/ |website=gmm-tv.com |access-date=2021-04-30 เมษายน 2564}}</ref>
 
{{columns-list|colwidth=16em|
เส้น 1,510 ⟶ 1,508:
* {{YouTube|จีเอ็มเอ็มทีวี|user=GMMTVSPOTLIKE}}
* {{linetv|st=gmmtv|จีเอ็มเอ็มทีวี}}
* [http://www.dailymotion.com/gmmtv จีเอ็มเอ็มทีวี] ที่เดลี่ลีโมชั่น]ชัน
* {{facebook|gmmtvofficial}}
* {{twitter|GMMTV}}
* {{instagram|gmmtv}}
* {{weibo|6146914790}}
* [https://channels.vlive.tv/9F9BF3/home จีเอ็มเอ็มทีวี] ที่วีไลฟ์]
* [https://www.tiktok.com/@gmmtvofficial จีเอ็มเอ็มทีวี] ที่[[ติ๊กต็อก]]
* [http://www.gmm-tv.com เว็บไซต์ของจีเอ็มเอ็มทีวี]