ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดัชนีการพัฒนามนุษย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nakeo (คุย | ส่วนร่วม)
Ethan2345678 (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนเป็นค.ศ.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
'''ดัชนีการพัฒนามนุษย์''' ({{lang-en|Human Development Index: HDI}}) คือดัชนีทางสถิติแบบองค์รวมที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ[[การคาดหมายคงชีพ]] [[การศึกษา]] และรายได้เฉลี่ยต่อหัว ซึ่งใช้จัดลำดับการพัฒนามนุษย์ในแต่ละประเทศเป็น 4 กลุ่ม ยิ่งประเทศใดมีระดับการคาดหมายคงชีพ การศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อหัวมาก ก็จะยิ่งส่งผลให้ระดับการพัฒนามนุษย์มากตามไปด้วย ทั้งนี้ดัชนีดังกล่าวถูกพัฒนาโดยนักเศรษฐศาสตร์ชาวปากีสถาน มาห์บับ อุล ฮัก ร่วมกับนักเศรษฐศาสตร์ชาวอินเดีย [[อมรรตยะ เสน]] ซึ่งได้วางกรอบการศึกษาไว้ว่าผู้คนสามารถที่จะ "เป็น" หรือ "กระทำ" สิ่งที่ตนปรารถนาในชีวิตได้หรือไม่ และเผยแพร่รายงานการศึกษาโดย[[โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ]]
 
ในปี .ศ. 25532010 รายงานการพัฒนามนุษย์ได้ริเริ่มดัชนีการพัฒนามนุษย์ปรับปรุงด้วยความไม่เท่าเทียมหรือ "ไอเอชดีไอ" (Inequality-adjusted Human Development Index; IHDI) ในขณะที่ดัชนีแบบเดิมยังถือว่ามีข้อมูลที่เป็นประโยชน์อยู่ โดยกล่าวว่า "ไอเอชดีไอคือดัชนีที่สะท้อนระดับการพัฒนามนุษย์ที่แท้จริง (เนื่องจากพิจารณาความไม่เท่าเทียมในสังคมด้วย)" และ "อาจมองได้ว่าดัชนีการพัฒนามนุษย์แบบเดิมคือศักยภาพในการพัฒนามนุษย์ (ดัชนีไอเอชดีไอสูงสุดที่เป็นได้ เนื่องจากเป็นกรณีที่สังคมมีความเท่าเทียมกันโดยสมบูรณ์)"
ดัชนีการพัฒนามนุษย์วัดความสำเร็จโดยเฉลี่ยของแต่ละประเทศในการพัฒนามนุษย์สามด้านหลัก ๆ ได้แก่