ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การอับปางของเรืออาร์เอ็มเอส ไททานิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 117:
ในเวลานั้น เรือชูชีพมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการเคลื่อนย้ายผู้โดยสารจากเรือที่ประสบปัญหาไปยังเรือที่อยู่ใกล้เคียงเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน{{sfn|Hutchings|de Kerbrech|2011|p=116}}{{efn|เหตุการณ์ที่ยืนยันหลักการนี้ในขณะที่ ''ไททานิก'' อยู่ระหว่างการก่อสร้างคือ เรือ ''อาร์เอ็มเอส รีพับบลิก'' ของไวต์สตาร์ไลน์เกิดอุบัติเหตุชนกันและอับปางลง แม้ว่าเรือจะมีเรือชูชีพไม่เพียงพอสำหรับผู้โดยสารทุกคน แต่ผู้โดยสารก็รอดชีวิตทั้งหมด เพราะเรือสามารถลอยอยู่ได้นานพอที่จะย้ายผู้โดยสารทั้งหมดไปยังเรือที่มาช่วยเหลือ{{sfn|Chirnside|2004|p=29}}}} ดังนั้นจึงเป็นเรื่องธรรมดาที่เรือเดินสมุทรจะมีเรือชูชีพน้อยกว่าจำนวนผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมด จากเรือเดินสมุทรอังกฤษ 39 ลำที่มีความยาวมากกว่า 10,000 ตัน มีถึง 33 ลำที่มีเรือชูชีพน้อยเกินไปที่จะรองรับทุกคนบนเรือ{{sfn|Bartlett|2011|p=30}} ไวต์สตาร์ไลน์ต้องการให้เรือมีดาดฟ้าพักผ่อนที่กว้างพร้อมมองเห็นวิวทิวทัศน์ของทะเลโดยไม่มีแถวเรือชูชีพมาบดบัง{{sfn|Marshall|1912|p=141}}
 
กัปตันสมิธเป็นนักเดินเรือที่มีประสบการณ์ ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นเวลาถึง 40 ปีในทะเลซึ่งรวมถึง 27 ปีในการเป็นผู้บังคับบัญชาด้วย เหตุการณ์นี้เป็นวิกฤตครั้งแรกในอาชีพของเขาและเขารู้ดีว่าแม้ว่าจะบรรทุกคนเต็มลำเรือชูชีพทั้งหมด แต่ก็จะมีคนมากกว่าหนึ่งพันคนที่ยังคงเหลืออยู่บนเรือขณะที่เรือจมลง ซึ่งคนเหล่านี้มีโอกาสรอดเพียงเล็กน้อยหรืออาจไม่มีเลย{{sfn|Ballard|1987|p=22}} บางแหล่งข้อมูลอ้างว่า เมื่อกัปตันสมิธตระหนักถึงความร้ายแรงของเหตุกรณ์ที่เกิดขึ้น สมิธถึงกับตัวแข็งตะลึงงัน และไม่ได้เข้าช่วยเหลือในการป้องกันการสูญเสียชีวิต{{sfn|Butler|1998|pp=250–252}}{{sfn|Cox|1999|pp=50–52}} แต่ตามแหล่งข้อมูลอื่น กัปตันสมิธมีความรับผิดชอบและดำเนินการอย่างเต็มที่ในช่วงวิกฤต หลังจากการชน กัปตันสมิธได้เริ่มการตรวจสอบความเสียหายทันที โดยทำการตรวจสอบถึงสองครั้งด้านล่างดาดฟ้าเรือเพื่อค้นหาความเสียหาย และให้พนักงานวิทยุเตรียมพร้อมสำหรับความเป็นไปได้ที่จะต้องขอความช่วยเหลือ เขาสั่งให้ลูกเรือของเขาเริ่มเตรียมเรือชูชีพสำหรับการอพยพและให้ผู้โดยสารสวนชูชีพก่อนที่เขาจะได้รับแจ้งจากแอนดรูวส์ว่าเรือกำลังจะจมเสียอีก กัปตันสมิธเข้าสังเกตการรอบ ๆ ดาดฟ้าเรือ ตรวจตราดูแลและช่วยเหลือผู้โดยสารลงเรือชูชีพ ปฏิสัมพันธ์กับผู้โดยสาร และสร้างความสมดุลระหว่างความเร่งด่วนในการอพยพ ในขณะเดียวกันก็และพยายามห้ามปรามความตื่นตระหนก{{sfn|Fitch|Layton|Wormstedt|2012|pp=162–163}}
 
<!--Fourth Officer [[Joseph Boxhall]] was told by Smith at around 12:25 that the ship would sink,{{sfn|Fitch|Layton|Wormstedt|2012|p=183}} while Quartermaster George Rowe was so unaware of the emergency that after the evacuation had started, he phoned the bridge from his watch station to ask why he had just seen a lifeboat go past.{{sfn|Bartlett|2011|p=106}} The crew was unprepared for the emergency, as lifeboat training had been minimal. Only one [[Muster drill|lifeboat drill]] had been conducted while the ship was docked at Southampton. It was a cursory effort, consisting of two boats being lowered, each manned by one officer and four men who merely rowed around the dock for a few minutes before returning to the ship. The boats were supposed to be stocked with emergency supplies, but ''Titanic''{{'}}s passengers later found that they had only been partially provisioned despite the efforts of the ship's chief baker, [[Charles Joughin]], and his staff to do so.{{sfn|Mowbray|1912|p=279}} No lifeboat or fire drills had been conducted since ''Titanic'' left Southampton.{{sfn|Mowbray|1912|p=279}} A lifeboat drill had been scheduled for the Sunday morning before the ship sank, but was cancelled for unknown reasons by Captain Smith.{{sfn|Aldridge|2008|p=47}}