ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยอดเมืองขวาง (ขำ ยอดเพชร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
ในปี พ.ศ. 2436 เกิดกรณีพิพาทระหว่างการปักปันเขตแดนฝั่งซ้ายของ[[แม่น้ำโขง]]ระหว่างไทยกับ[[ฝรั่งเศส]] เมื่อฝรั่งเศสต้องการเมืองคำม่วน กองทหารนำโดยมองซิเออร์ลูซ (Luce) บังคับให้พระยอดเมืองขวางออกจากเมืองคำม่วน เมื่อวันที่ [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2436]] แต่พระยอดเมืองขวางไม่ยินยอม จึงเกิดการสู้รบกันเมื่อวันที่ [[26 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2436]] เมื่อนายลูซ สั่งให้นายกรอสกุรัง พร้อมกับทหารญวน เข้ามาจับกุมหลวงอนุรักษ์ ผู้ช่วยของพระยอดเมืองขวาง ที่[[ตำบลนาหลักหิน]] ปลายด่านคำม่วนต่อกับ[[อำเภอท่าอุเทน|เมืองท่าอุเทน]]ของฝั่งไทย และเกิดการต่อสู้กัน ทำให้นายกรอสกุรังเสียชีวิตพร้อมกับทหารญวน 11-12 คน บาดเจ็บ 3 คน ฝ่ายทหารไทยเสียชีวิต 6 คน บาดเจ็บ 4 คน <ref name="ยอดคน"/><ref>[http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=tao&month=12-2007&date=18&group=7&gblog=5 คดีพระยอดเมืองขวาง ร.ศ.112]</ref>
 
จากเหตุการณ์นี้ นาย[[ออกุสต์ ปาวี]]ไม่พอใจ กล่าวหาว่าพระยอดเมืองขวางเป็นฆาตกร บุกเข้าไปทำร้ายนายกรอสกุรังขณะนอนป่วยอยู่ในที่พัก และนำเรื่องขึ้นพิจารณาคดีในศาลรับสั่งพิเศษ [[รัชกาลที่ 5]] โปรดให้[[พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร]] แม่ทัพใหญ่อีสานใต้เป็นประธานคณะผู้พิพากษา ซึ่งประกอบด้วย [[พระยาสีหราชเดโชชัย]] [[พระยาอภัยรณฤทธิ์]] [[พระยาเทเวศวงศ์วิวัฒน์]] [[พระยาธรรมสารนิติ์]] [[พระยาฤทธิรงค์]] [[พระยาธรรมสารเนตติ์]] มี[[หลวงสุนทรโกษา]] และ[[นายหัสบำเรอ]] อัยการเป็นทนายฝ่ายโจทย์ มีนายตีเลกี (William Alfred Tilleke ต่อมารับราชการเป็น [[พระยาอรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม อัลเฟรดแอลเฟรด คุณะดิลก)|พระยาอรรถการประสิทธิ์]] ต้นสกุล คุณะดิลก) และนายเวอร์นอน เพจ (Vernon Page ชาวอังกฤษ) เป็นทนายจำเลย <ref name="ยอดคน">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ส. ทรงศักดิ์ศรี
| ชื่อหนังสือ = ยอดคนวรรณกรรม