ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thastp/ทดลองเขียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1:
({{lang-en|Argument from analogy}}) กระบวนการของการอนุมานโดย[[แนวเทียบ]] (analogy) คือการนำลักษณะร่วมกันของสิ่งของอย่างน้อยสองอย่างขึ้นไป และบนรากฐานนี้ก็จะอนุมานลักษณะร่วมกันเพิ่มเติมได้:<ref name="Baronett">{{Cite book|title=Logic|last=Baronett|first=Stan|publisher=Pearson Prentice Hall|year=2008|location=Upper Saddle River, NJ|pages=321–25}}</ref>
การให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นรูปแบบของการอ้างเหตุผลซึ่งให้ข้อสรุปที่มีโอกาสเป็นเท็จแม้[[ข้อตั้ง]]ทั้งหมดจะเป็นจริงก็ตาม<ref>John Vickers. [http://plato.stanford.edu/entries/induction-problem/ The Problem of Induction]. The Stanford Encyclopedia of Philosophy.</ref> ความแตกต่างระหว่างการให้เหตุผลแบบอุปนัยกับนิรนัยถูกสะท้อนผ่านการใช้คำศัพท์เพื่ออธิบายการให้เหตุผลทั้งสองแบบ ในการให้เหตุผลแบบนิรนัย การอ้างเหตุผลจะ "[[ความสมเหตุสมผล (ตรรกศาสตร์)|สมเหตุสมผล]]" (validity (logic)) เมื่อข้อสรุป''ต้อง''เป็นจริงเมื่อเราสมมติให้ข้อตั้งของการอ้างเหตุผลเป็นจริง เมื่อการอ้างเหตุผลนั้นสมเหตุสมผลและข้อตั้ง''เป็น''จริงแล้วการอ้างเหตุผลนั้นก็จะ "[[ความสมบูรณ์ (ตรรกศาสตร์)|สมบูรณ์]]" (soundness) ในทางตรงกันข้ามในการให้เหตุผลแบบอุปนัย ข้อตั้งของการอ้างเหตุผลไม่สามารถรับประกันว่าข้อสรุปจะ''ต้อง''เป็นจริง ดังนั้นการอ้างเหตุผลอุปนัยไม่สามารถสมเหตุสมผลหรือสมบูรณ์ได้ แต่การอ้างเหคุผลนั้นจะ "เข้ม" เมื่อข้อสรุป''น่าจะ''เป็นจริงเมื่อเราสมมติให้ข้อตั้งของการอ้างเหตุผลนั้นเป็นจริง และหากการอ้างเหตุผลนั้นเข้มและข้อตั้ง''เป็น''จริงแล้วการอ้างเหตุผลนั้นก็จะ "น่าเชื่อถือ" (cogent)<ref>{{cite web|last=Herms|first=D.|title=Logical Basis of Hypothesis Testing in Scientific Research|url=http://www.dartmouth.edu/~bio125/logic.Giere.pdf}}</ref> หากพูดในเชิงรูปนัยน้อยกว่า การอ้างเหตุผลแบบอุปนัยสามารถเรียกได้ว่า "น่าจะเป็น" "ฟังขึ้น" "เป็นไปได้" "มีเหตุผล" หรือ "เที่ยงธรรม" แต่ไม่มีวัน "แน่นอน" หรือ "จำเป็น" ไม่มีสะพานเชื่อมระหว่างความน่าจะเป็นและความแน่นอนในตรรกศาสตร์
 
 
:P กับ Q คล้ายกันในด้าน a, b, และ c
:วัตถุ P ถูกสังเกตว่ามีลักษณะเพิ่มเติม x ด้วย
:เพราะฉะนั้น Q อาจมีลักษณะ x เหมือนกัน
 
 
การให้เหตุผลโดยแนวเทียบพบได้บ่อยใน[[สามัญสำนึก]], [[วิทยาศาสตร์]], [[ปรัชญา]] และ [[มนุษยศาสตร์]] แต่บางครั้งถูกยอมรับเป็นแค่วิธีเสริม วิธีที่ถูกกลั่นกรองแล้วคือ[[การให้เหตุผลเป็นกรณี]] (case-based reasoning)<ref>For more information on inferences by analogy, see [http://www.cs.hut.fi/Opinnot/T-93.850/2005/Papers/juthe2005-analogy.pdf Juthe, 2005].</ref>
 
 
:แร่ A เป็นหินอัคนีซึ่งมีสายแร่ควอตซ์อยู่ประมาณหนึ่ง และพบเจอได้บ่อยในบริเวณที่มีกิจกรรมภูเขาไฟเก่าแก่ในทวีปอเมริกาใต้
:นอกจากนั้น แร่ A เป็นหินที่อ่อนและเหมาะแก่การนำไปเจียระไนเป็นเครื่องประดับ
:แร่ B เป็นหินอัคนีซึ่งมีสายแร่ควอตซ์อยู่ประมาณหนึ่ง และพบเจอได้บ่อยในบริเวณที่มีกิจกรรมภูเขาไฟเก่าแก่ในทวีปอเมริกาใต้
:แร่ B อาจเป็นหินที่อ่อนและอาจเหมาะแก่การนำไปเจียระไนเป็นเครื่องประดับ
 
 
นี่คือ''การอุปนัยโดยแนวเทียบ'' คือสิ่งที่คล้ายกันในด้านด้านหนึ่งจะมีโอกาสคล้ายกันในด้านอื่นด้วย การอุปนัยรูปแบบนี้ถูกสำรวจเพิ่มเติมโดยนักปรัชญา [[จอห์น สจ๊วต มิลล์]] ในหนังสือ ''A System of Logic'' ของเขาว่า:
 
 
:"There can be no doubt that every resemblance [not known to be irrelevant] affords some degree of probability, beyond what
:would otherwise exist, in favour of the conclusion."<ref>A System of Logic. Mill 1843/1930. p. 333</ref>
:ไม่ต้องสงสัยเลยว่าทุก ๆ ความคล้ายคลึง [ที่ไม่รู้ว่าไม่มีความเกี่ยวข้อง] มีโอกาสความน่าจะเป็นอยู่ปริมาณหนึ่ง
:เกินกว่าที่จะมีอยู่จริง เพิ่อสนับสนุนข้อสรุป
 
 
การอุปนัยโดยแนวเทียบเป็นหมวดหมู่ย่อยของการวางนัยทั่วไปแบบอุปนัย เพราะเป็นการอุปโลกน์ว่ามีภาวะเอกรูปก่อนจะถูกพิสูจน์ว่ามี การอุปนัยโดยแนวเทียบต้องการการตรวจสอบ''ความเกี่ยวข้อง''ของลักษณะที่บอกว่ามีร่วมกันของทั้งสองสิ่งเพิ่มเติม ในตัวอย่างก่อนหน้านี้ ถ้าเราเพิ่มข้อตั้งไปว่าหินทั้งสองเคยปรากฏในบันทึกของนักสำรวจชาวสเปนยุคบุกเบิก คุณลักษณะร่วมกันที่ว่ามานี้นอกประเด็นของเรื่องหินและไม่สนับสนุนความน่าจะเป็นของความสัมพันธ์กันของหินทั้งสอง
 
อันตรายของแนวเทียบคือคุณลักษณะที่เลือกสามารถเป็นแบบ "เลือกที่รัก มักที่ชัง": แม้สิ่งสองสิ่งจะมีคุณสมบัติหนึ่งที่คล้ายกันอย่างสูง เมื่อลองเทียบข้าง ๆ กันอย่างละเอียดอาจมีคุณสมบัติที่ไม่ได้บอกไว้ในแนวเทียบ และไม่มีความคล้ายคลึงกันเลยอยู่ ดังนั้นแนวเทียบอาจนำไปสู่ข้อสรุปที่ผิดถ้าไม่ได้มีการเปรียบเทียบคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องทั้งหมดก่อนด้วย
 
 
The process of analogical inference involves noting the shared properties of two or more things and from this basis inferring that they also share some further property:<ref name="Baronett">{{Cite book|title=Logic|last=Baronett|first=Stan|publisher=Pearson Prentice Hall|year=2008|location=Upper Saddle River, NJ|pages=321–25}}</ref>
 
:P and Q are similar in respect to properties a, b, and c.
:Object P has been observed to have further property x.
:Therefore, Q probably has property x also.
 
Analogical reasoning is very frequent in [[common sense]], [[science]], [[philosophy]], [[law]], and the [[humanities]], but sometimes it is accepted only as an auxiliary method. A refined approach is [[case-based reasoning]].<ref>For more information on inferences by analogy, see [http://www.cs.hut.fi/Opinnot/T-93.850/2005/Papers/juthe2005-analogy.pdf Juthe, 2005].</ref>
 
:Mineral A and Mineral B are both igneous rocks often containing veins of quartz and most commonly found in South America in areas of ancient volcanic activity.
:Mineral A is also a soft stone suitable for carving into jewelry.
:Therefore, mineral B is probably a soft stone suitable for carving into jewelry.
 
This is ''analogical induction'', according to which things alike in certain ways are more prone to be alike in other ways. This form of induction was explored in detail by philosopher John Stuart Mill in his ''System of Logic'', wherein he states, "[t]here can be no doubt that every resemblance [not known to be irrelevant] affords some degree of probability, beyond what would otherwise exist, in favour of the conclusion."<ref>A System of Logic. Mill 1843/1930. p. 333</ref>
 
Some thinkers contend that analogical induction is a subcategory of inductive generalization because it assumes a pre-established uniformity governing events.{{Citation needed|date=June 2020}} Analogical induction requires an auxiliary examination of the ''relevancy'' of the characteristics cited as common to the pair. In the preceding example, if a premise were added stating that both stones were mentioned in the records of early Spanish explorers, this common attribute is extraneous to the stones and does not contribute to their probable affinity.
 
A pitfall of analogy is that features can be [[cherry-picked]]: while objects may show striking similarities, two things juxtaposed may respectively possess other characteristics not identified in the analogy that are characteristics sharply ''dis''similar. Thus, analogy can mislead if not all relevant comparisons are made.