ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การให้เหตุผลแบบอุปนัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 68:
นี่คือ''ตรรกบทสถิติ''<ref name="Logic. Harry J 2002. p. 268">Introduction to Logic. Harry J. Gensler, Rutledge, 2002. p. 268</ref> เราไม่สามารถมั่นใจได้ว่าก้องจะได้เข้ามหาวิทยาลัยแน่ ๆ แต่เราสามารถมั่นใจในความน่าจะเป็นของผลลัพธ์นี้ (หากไม่มีข้อมูลอื่นเพิ่มเติม) การให้เหตุผลแบบนี้อาจดูมั่นใจเกินไปและอาจถูกกล่าวหาว่า "โกง" เพราะความน่าจะเป็นมีอยู่ในข้อตั้งข้อแรกอยู่แล้ว โดยปกติการให้เหตุผลแบบอุปนัยจะพยายาม''กำหนด''ความน่าจะเป็น เราสามารถพบเหตุผลวิบัติ[[การขึ้นอยู่กับกรณี]] (Secundum quid) สองแบบในตรรกบทสถิติ: [[การทำลายข้อยกเว้น]] (accident (fallacy)) และ[[การทำลายกฏ]] (converse accident)
 
=== การอ้างเหตุผลโดยแนวเทียบ ===
{{Main|การอ้างเหตุผลโดยแนวเทียบ}}
 
({{lang-en|Argument from analogy}}) กระบวนการของการอนุมานโดย[[แนวเทียบ]] (analogy) คือการนำลักษณะร่วมกันของสิ่งของอย่างน้อยสองอย่างขึ้นไป และบนรากฐานนี้ก็จะอนุมานลักษณะร่วมกันเพิ่มเติมได้:<ref name="Baronett">{{Cite book|title=Logic|last=Baronett|first=Stan|publisher=Pearson Prentice Hall|year=2008|location=Upper Saddle River, NJ|pages=321–25}}</ref>