ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6:
| ปิดกิจการ = [[17 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2541]]
| ที่ตั้ง = เลขที่ 99 [[ถนนสุรศักดิ์]] [[แขวงสีลม]] [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| บุคลากรหลัก = [[เกริกเกียรติ ชาลีจันทร์]] ประธานกรรมการ<br>[[ไกรศรี จาติกวณิช]] ประธานกรรมการบริหาร<br>[[วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ]] กรรมการผู้จัดการ<br>พล.ต..[[ปทีปพจน์ ตันประเสริฐบุณยะจินดา]] นายกกรรมการ
| บริการ = ธนาคาร
| คำขวัญ = ก้าวไกลไปกับคุณ
}}
 
'''ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ จำกัด (มหาชน)''' ({{lang-en|Bangkok Bank of Commerce Public Company Limited}} ชื่อย่อ: BBC) เป็นธนาคารในอดีต ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยผู้บริหารธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ ได้ยุติการประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2541 โดยมีการโอนกิจการของธนาคารฯ ไปยัง [[ธนาคารกรุงไทย]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/E/082/2.PDF ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ให้ความเห็นชอบโครงการโอนกิจการของธนาคารกรุงเทพฯพาณิชย์การ จำกัด(มหาชน)ให้แก่ธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน)และบริษัทบริหารสินทรัพย์ วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2541]</ref> เฉพาะสินทรัพย์และเงินฝากของลูกค้าที่มีคุณภาพดี และบริษัทบริหารสินทรัพย์ เฉพาะสินทรัพย์และลูกหนี้ที่มีความด้อยคุณภาพ (หมายถึง [[บริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์|บริษัท บริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)]] ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[7 มกราคม]] [[พ.ศ. 2542]]) ซึ่งทำให้ธนาคารฯ แปลงสภาพเป็นบริษัทลูกหนี้ ภายใต้ชื่อ ''บริษัท กรุงเทพฯพาณิชย์การ จำกัด (มหาชน)'' แต่ในที่สุดก็ปิดกิจการลงเมื่อวันที่ [[23 มกราคม]] [[พ.ศ. 2546]] เนื่องจากศาลล้มละลายกลาง มีคำสั่งให้ล้มละลาย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00120528.PDF ประกาศเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เรื่อง คำพิพากษาให้ล้มละลายและกำหนดนัดไต่สวนลูกหนี้โดยเปิดเผย วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2546]</ref> อนึ่ง วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ยึดใบอนุญาตประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ ของธนาคารฯ ด้วยสาเหตุจากการมีหนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้จำนวนมาก ซึ่งปัญหาการเงินและสืบเนื่องมาถึงปิดตัวของธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การนั้น เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิด[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540]]