ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกษม จาติกวณิช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 51:
 
== การทำงานในยุคหลัง==
ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ชื่อของ เกษม จาติกวณิช ที่หายไปช่วงหนึ่ง ได้กลับมาสู่กระแสข่าวอีกครั้งเมื่อ ได้ตอบรับคำเชิญของ [[คีรี กาญจนพาสน์|นายคีรี กาญจนพาสน์]] ดำรงตำแหน่งเป็น ประธานกรรมการบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BTSC ในวัย 67 ปี
 
นายเกษมต้องรับภาระนำพา BTSC ฝ่ามรสุมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการต่อต้านจากชาวบ้านในพื้นที่ กรณีการใช้พื้นที่บริเวณสีลม[[สวนลุมพินี]]เป็นอู่จอดรถรถไฟฟ้า ที่ขยายตัวลุกลาม กลายเป็นอุปสรรคสำคัญที่สร้างความล่าช้าให้กับโครงการ และการต้องรับมือกับ เหล่าบุคคลที่มีชื่อเสียงของประเทศ ที่ไม่เห็นด้วยกับโครงการในขณะนั้น ทั้ง [[เฉลิม อยู่บำรุง|ร้อยเอกเฉลิม อยู่บำรุง]], [[สล้าง บุนนาค|พล.ต.ท สล้าง บุนนาค]], [[บุญชู โรจนเสถียร|นายบุญชู โรจนเสถียร]] และ [[ชดช้อย โสภณพนิช|คุณหญิงชดช้อย โสภณพนิช]] (คุณหญิงชดช้อย ที่อยากให้สร้างเป็นรถไฟฟ้าใต้ดิน)
 
ระยะเวลาที่ยืดเยื้อเกินกำหนดของโครงการ และระยะทางที่ต้องสร้างเพิ่มขึ้นเกินกว่าแผนเดิม ได้สร้างปัญหาทางการเงินให้กับ BTSC อย่างใหญ่หลวง ซึ่งนายเกษมในฐานะที่เคยเจรจากับ [[ธนาคารโลก]] เพื่อขอกู้เงิน 65 ล้านดอลลาร์สหรัฐมาสร้าง[[เขื่อนภูมิพล]]ในอดีต สามารถทำให้ ธนาคารโลก ยอมอนุมัติเงินกู้ ให้กับโครงการรถไฟฟ้า BTS อีกทั้งยอมเข้าร่วมลงทุนในโครงการ โดยที่รัฐบาลไทยในขณะนั้นไม่ได้มีส่วนในการช่วยค้ำประกันใดๆ ทั้งสิ้น และเป็นปัจจัยให้ โครงการรถไฟฟ้าสายแรกของไทย สามารถเปิดให้บริการต่อสาธารณะได้สำเร็จ และกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบขนส่งมวลชน ที่สำคัญของ[[กรุงเทพมหานคร]] มาจนถึงปัจจุบัน
 
==ถึงแก่อนิจกรรม==