ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ทดลองเขียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขรหัสต้นทาง
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Phrakhruwinaithon Kittisak Kittisakko (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1:
{{กรุณาอย่าแก้ไขบรรทัดนี้ (ส่วนหัวหน้าทดลองเขียน)}}
ประวัติวัดบางพูดใน
ทดลองเขียน 21/10/63
วัดบางพูดในสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๕ เดิมชื่อ “วัดสานทอง” จัดตั้งเสร็จเปลี่ยนเป็น “วัดบางพูดใน” ไม่ ปรากฎหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง การขนานนามวัดนี้ ก็ขนานตามท้องที่ ตั้งวัด คือ คลองบางพูด
[http://www.google.com/imgres?imgurl=https%3A%2F%2Fpbs.twimg.com%2Fprofile_images%IMG_20200519_024148%2FcVT0bFxP_400x400.jpg&imgrefurl=https%3A%2F%2Ftwitter.com%2Fmissganyanutsansana&tbnid=ZUQAGk2myK7hVM&vet=12ahUKEwiyrciIge3kAhWDk3AKHft6CxUQMygAegQIARAj..i&docid=O-lLWgaPdIEDvM&w=400&h=400&q=Ganyanut%20Sansana&th=en-US&ved=2ahUKEwiyrciIge3kAhWDk3AKHft6CxUQMygAegQIARAj]
 
[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/1.47.96.75|1.47.96.75]] 19:26, 21 ตุลาคม 2563 (+07)&nbsp/1.47.96.75|1.47.96.75]]<ref name=ganyanutdbx@gmail.com-email"" />[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/1.47.96.75|1.47.96.75]] 19:26, 21 ตุลาคม 2563 (+07)<ref>th.wikimedie.org</ref>
วัดบางพูดในปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ ๑๑๖ ถนนสุขาประชาสรรค์ ๒ หมู่ที่ 9 ตําบลปากเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๒๒ ไร่ มีอาณาเขตทิศเหนือ ยาว ๑๔๒ วา ทิศใต้ยาว ๑๗๐ วา ทิศตะวันออกยาว ๔๕ วา ทิศตะวันตกยาว ๕๒ วา ที่ธรณีสงฆ์จํานวน ๒ แปลง เนื้อที่ ๑๒ ไร่ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองบางพูดตัดผ่านวัด มีถนนสาธารณะ (สุขาประชาสรรค์ ๒ ) เป็นทางคมนาคมสะดวก เชื่อมกับถนนใหญ่ (แจ้งวัฒนะ)ในตลาดปากเกร็ด
 
ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะต่าง ๆ ดังนี้ อุโบสถกว้าง ๑๔.๕ เมตร ยาว ๓๒.๕ เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๕ ลักษณะทรงไทยสูง ก่อด้วยอิฐมอญ กุฏิสงฆ์จํานวน 96 หลัง เป็นอาคารไม้ทรงไทย และ คอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น หอสวดมนต์ วิหาร ศาลาบําเพ็ญกุศล ฌาปนสถาน (เมรุ) หอระฆัง มณฑป ๒ หลัง หอพิพิธภัณฑ์ ศาลาตั้งศพ ๒ หลัง ศาลาการเปรียญ ๒ หลัง ศาลาน้ํา 3 หลัง นอกจากนี้ ยังมีพระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๑.๕๐ เมตร ท่านพระครูนนทศีลวัตรเป็นผู้สร้างขึ้นใหม่เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๔ และมีพระพุทธรูปปางต่าง ๆ จํานวน ๕๐ องค์ ประดิษฐาน อยู่ที่หอสวดมนต์ ศาลาการเปรียญ หอพิพิธภัณฑ์ และมณฑปสําหรับ ประดิษฐานพระพุทธบาทจําลอง ส่วนหอพิพิธภัณฑ์นั้นเป็นที่เก็บศาสน วัตถุของวัด และเป็นที่ประดิษฐานรูปเหมือนของพระครูนนทศีลวัตร (หลวงพ่อเป้า) อดีตเจ้าอาวาสผู้พัฒนาวัดให้เจริญรุ่งเรืองมาจนบัดนี้
 
วัดบางพูดในได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๕ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๑๒.๔๕ เมตร ยาว ๒๒.๕๐ เมตร ได้ผูกพัทธสีมาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๐
 
ทางวัดบางพูดในได้ทําการเปิดสอนพระปริยัติธรรมมาตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๔๗๓ และยังได้จัดตั้งโรงเรียนประชาบาลขึ้นภายในเขตวัด ตั้งหน่วย อบรมประชาชน (อ.ป.ต.) และยังได้เปิดให้ใช้บริเวณวัดเป็นการเฉพาะ กิจ เช่น จัดเป็นหน่วยเลือกตั้ง ส.ท., ส.จ., ส.ส., หน่วยคัดเลือกการ เกณฑ์ทหาร ตามนโยบายของรัฐบาล สร้างถังเก็บน้ําและบ่อเก็บน้ําไว้ใช้ ในหน้าแล้ง โดยการก่อเป็นถังสูงด้วยคอนกรีต และบ่อน้ําเทพื้นด้วย คอนกรีต เพื่อบริการสาธารณชน ลําดับเจ้าอาวาส : -
 
อดีตเจ้าอาวาสที่ปกครองวัดบางพูดในเท่าที่สืบทราบได้มี จํานวน ๔ รูป คือ :
 
(๑) พระอธิการเริ่ม
 
(๒) พระอธิการปุ่น ธมุมฉนฺโท พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๒๕
 
(๓) พระครูนนทศีลวัตร (หลวงพ่อเป้าทีปโก) พ.ศ. ๒๕๓๕-๑๒ ๕๒ ๓)
 
(๔) เพระครูนนทกิจจาภรณ์(อินฺทจกฺโก แส หิ่มสาใจ) ดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาส วัดบางพูดในมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๔
 
(๕)
 
การเดินทาง (แผนที่) วัดบางพูดใน ปากเกร็ด นนทบุรี
โดยรถประจำทาง รถเมล์สาย 32,52,150,166,356,505 ลงไปกลับรถที่ท่าน้ำปากเกร็ด บริเวณวัดบ่อ(ใต้สะพานพระรามสี่) เดินข้ามมาอีกฝั่งจะมีซอยสุขาประชาสรรค์ 2 บริเวณปากซอยสองแถวหรือมอเตอร์ไซด์วิ่งเข้าไปผ่านวัดบางพูดใน