ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Wasin147/ทดลองเขียน4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wasin147 (คุย | ส่วนร่วม)
Wasin147 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 337:
| year = 2001
}}
</ref> การย้ายโรงเรียนมาที่ฝั่งพระนคร ทำให้โรงเรียนมีความเจริญก้าวหน้ามากมาย และยังได้สร้างอาคารเรียนที่รองรับนักเรียนได้มากถึง 150 คน ซึ่งคือตึก 3 ตึกแรกของโรงเรียน (ตึกเหนือเดิม ตึกออฟฟิซ และตึกใต้เดิม)
 
=== ซอยพร้อมพงษ์ ===
</ref>
ในวันที่ '''8 ธันวาคม 2484''' ช่วงสงครามเอเชียบูรพา สถานที่ตั้งของโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย บนถนนประมวญ ถูกยึดเป็นที่ตั้งกองทหารญี่ปุ่น ทำให้โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน จะต้องย้ายไปเปิดสอนที่ซอยพร้อมพงษ์ สุขุมวิท 39 เป็นการชั่วคราว พร้อมเปลี่ยนชื่อโรงเรียนจาก "กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย" เป็น "กรุงเทพสเถียรวิทยาลัย" โดยใช้การสะกดคำแบบเดิม ซึ่งปรากฎอยู่บนใบรับรองวิทยฐานะ ที่ออกโดยหน่วยงานกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ '''1 เมษายน 2486''' จนกระทั่งปี '''พ.ศ. 2488''' เมื่อสถานการทุกอย่างสงบ จึงกลับไปใช้ที่ดินบริเวณถนนประมวญ และใช้ชื่อโรงเรียนเดิม ในขณะที่มีสงคราม สภาพแวดล้อม อาคาร ของโรงเรียน ได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก อาคารหลายอาคารมีความเสื่อมโทรม จึงพิจารณาสร้างอาคารใหม่ทั้งหมดในเวลาต่อมา
<ref>
{{cite book
| last = อรรฆภิญญ์
| first = พิษณุ
| title = 150 ปี คบเพลิงบีซีซี
| page = 252
| publisher = โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
| year = 2001
}}
</ref>
===มหาวิทยาลัย ณ บ้านกล้วย===
เมื่อต้นศตวรรษที่ 20 หลังจากคณะมิชชันนารีได้จัดตั้งโรงเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาสำเร็จแล้ว ทั้งหมดได้ความเห็นตรงกันที่จะให้จัดตั้งคอลเลจ หรือมหาวิทยาลัย ขึ้นในพระนคร เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระรัฐบาล โดยในระยะเริ่มต้น เจ้าหน้าที่กระทรวงให้ความสนับสนุนกับโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพคริสเตียน และได้มีการจัดหาที่ดินเพื่อสร้างมหาวิทยาลัย และเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2469 ได้มีการซื้อที่ดินขนาด 80ไร่ 2งาน 25วา จากเจ้าคุณ ที่บริเวณบ้านกล้วย โดยรวมเป็นเงินทั้งหมด 60,000 บาท แต่การเดินทางในสมัยนั้นยังไม่มีความสะดวก เนื่องจากยังไม่มีการสร้างถนนกรุงเทพ-สมุทรปราการ หรือที่เรียกในปัจจุบันว่า [[ถนนสุขุมวิท]] แต่เมื่อเวลาผ่านไป ได้มีการตัด[[ถนนสุขุมวิท]]ขึ้น ทำให้ที่ดินเข้าใกล้ความเจริญเป็นอย่างมาก โดยอยู่ใกล้[[ถนนสุขุมวิท]]เพียง 300 เมตร และ[[ทางรถไฟสายปากน้ำ|รถไฟสายปากน้ำ]] 800 เมตร โดยพื้นที่มหาวิทยาลัยไม่โดนเวนคืนเลยแม้แต่คืบเดียว