ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติฝรั่งเศส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
สำหรับปัจจัยทางการเมือง [[เยือร์เกิน ฮาเบอร์มาส]] นักปรัชญาชาวเยอรมันอธิบายว่าเป็นเพราะการเปลี่ยนแปลงของ "พื้นที่สาธารณะ" ที่กำลังเกิดขึ้นในฝรั่งเศสและยุโรปในช่วง ศ.ที่หนึ่ง8<ref>{{cite book|last=Blanning|first=T.C.W.|title=''The French Revolution: Class War or Culture Clash?''|publisher=London: Macmillan|year= 1998|page= 26}}</ref> โดยก่อนหน้านี้ (ศตวรรษที่หนึ่ง7) ฝรั่งเศสมีจารีตประเพณีการปกครองที่แยกชนชั้นปกครองออกจากชนชั้นที่ถูกปกครองอย่างชัดเจน ฝ่ายชนชั้นปกครองของฝรั่งเศสเป็นผู้ยึดกุมพื้นที่สาธารณะอย่างสิ้นเชิง และมุ่งจะแสดงออกถึงอำนาจทางการเมืองผ่านทางวัตถุ โดยการสร้างสิ่งก่อสร้างสาธารณะที่ใหญ่โต หรูหรา และมีราคาแพง{{sfn|Blanning|1998|page= 26}} เช่น พระราชวังแวร์ซาย ซึ่งถูกสร้างให้อาคันตุกะต้องมนต์ของความงดงามอลังการ และเพื่อเป็นการแสดงออกซึ่งอำนาจที่เกรียงไกรของราชอาณาจักรฝรั่งเศสในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แต่พอถึงศตวรรษที่ 18 ประชาชนเริ่มมีความตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้น การรู้หนังสือในหมู่ราษฎรมีเพิ่มสูงขึ้น ทำให้ธุรกิจเอกสารสิ่งพิมพ์มีความคึกคัก มีการพบปะพูดคุยและเปลี่ยนความคิดเห็นและข่าวสารตามร้านกาแฟ ร้านหนังสือพิมพ์ และโรงช่างฝีมือในกรุงปารีส จนเกิดเป็นพื้นที่สาธารณะนอกการควบคุมของรัฐ และมีศูนย์กลางอยู่ที่ปารีสแทนที่จะเป็นแวร์ซาย{{sfn|Blanning|1998|page= 27}} [[กรณีพิพาทบูฟง]] ({{lang|fr|''Querelle des Bouffons''}}) ในปี 1750 เป็นเหตุการณ์แรก ๆ ที่แสดงให้เห็นว่าความเห็นของสาธษรณะมีความสำคัญ แม้แต่ในเรื่องรสนิยมทางดนตรีซึ่งเคยเป็นพื้นที่ทางวัฒนธรรมของชนชั้นสูง หลังจากนั้นความเชื่อว่าทัศนะของสาธารณชน (แทนที่จะเป็นราชสำนัก) มีสิทธิที่จะตัดสินปัญหาทางวัฒนธรรมก็พัฒนาไปสู่ความต้องการของสาธารณะที่จะชี้ขาดปัญหาทางการเมืองในเวลาต่อมา
 
==เหตุการณ์ช่วงต้น==
===วิกฤติการคลัง===
[[ไฟล์:Troisordres.jpg|170px|thumb|ภาพล้อเลียน: ฐานันดรที่สาม(ไพร่) กำลังแบกฐานันดรที่หนึ่ง(พระ) และฐานันดรที่สอง(ขุนนาง)]]
บรรทัด 44:
นโยบายการปฏิรูปของแนแกร์ถูกต่อต้านและขัดขวางโดยราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ แนแกร์ต้องการตำแหน่งนี้สูงกว่านี้ และร้องขอให้ทรงแต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีเต็มตัว พระเจ้าหลุยส์ทรงปฏิเสธ ท้ายที่สุด แนแกร์จึงลาออกในเดือนพฤษภาคม 1781 จนกระทั่งราชสำนักได้มือดีอย่าง[[ชาร์ล อาแล็กซ็องดร์ เดอ กาลอน|กาลอน]] ({{lang|fr|''Calonne''}}) มาในปี 1783<ref name="Hib35"/> ในช่วงแรกกาลอนมีท่าทีใจกว้างต่อราชสำนัก แต่ไม่นานเขาก็ตระหนักถึงสถานการณ์ความเลวร้ายทางด้านการคลัง และเสนอประมวลกฎหมายภาษีฉบับใหม่<ref name="D34">Doyle, ''The French Revolution: A very short introduction'', p. 34</ref> เนื่องจากร่างกฎหมายภาษีฉบับใหม่จะทำให้ขุนนางและพระเสียภาษีที่ดิน จึงตกเป็นที่ต่อต้านโดยกลุ่มอำมาตย์ กาลอนนำเรื่องเข้าสภาชนชั้นสูงแจ่ถูกต่อต้านและทำให้ตัวกาลอนตกอยู่ในสถานะลำบากเสียเอง เหล่าขุนนางเสนอว่าการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากประชาชนด้วย ดังนั้นสภาที่ควรจะตัดสินเรื่องนี้จึงควรเป็นสภาฐานันดร ({{lang|fr|''États généraux''}})
 
กาลอนตัดสินใจลาออกในเดือนพฤษภาคม 1787 และผู้มาแทนที่คือ[[เอเตียน ชาร์ล เดอ โลเมนี เดอ บรีแยน|บรีแยน]] ({{lang|fr|''Brienne''}}) ร่างกฎหมายที่บรีแยนเสนอต่อสภาชนชั้นสูงสมัชชาอภิชน ({{lang|fr|''Assemblée des notables''}}) นั้นแทบไม่แตกต่างจากของกาลอนเลย ต่างแต่มีการยกเว้นภาษีเหนือที่ดินโบสถ์เท่านั้น แน่นอนว่าร่างกฎหมายฉบับนี้ถูกตีตกโดยสภาชนชั้นสูงสมัชชาอภิชน บรีแยนพยายามอุทธรณ์ร่างกฎมหายนี้ไปยังสภาอำมาตย์ปารีส แม้สภาอำมาตย์ปารีสจะเห็นชอบในหลักการ แต่ก็พูดเหมือนสภาชนชั้นสูงสมัชชาอภิชนว่ามีเพียงสภาฐานันดรเท่านั้นที่มีอำนาจผ่านร่างกฎหมายที่ส่งผลเปลี่ยนแปลงสังคมขนาดนี้
 
ในเดือนสิงหาคม 1788 พระเจ้าหลุยส์ทรงเรียกแนแกร์มารับตำแหน่งในราชสำนัก เชื่อกันว่าพระนางมารีอ็องตัวแน็ตมีส่วนช่วยให้แนแกร์กลับมามีอำนาจ<ref>[https://books.google.nl/books?id=r7EODAAAQBAJ&printsec=frontcover&dq=john+hardman+the+life+of+louis+xvi&hl=de&sa=X&ved=0ahUKEwjTqtXCvZjgAhXOa1AKHcKHCRoQ6AEIKTAA#v=onepage&q=necker&f=false John Hardman (2016) The life of Louis XVI]</ref> แนแกร์ยืนกรานขอตำแหน่งขุนคลังเอก ({{lang|fr|''Contrôleur général des finances''}}) พระเจ้าหลุยส์ทรงยอมตามนั้น และยังตั้งแนแกร์เป็นมุขมนตรีแห่งรัฐอีกตำแหน่งหนึ่ง
บรรทัด 64:
พระเจ้าหลุยส์สั่งทหารหลวงให้ปิดโถงเดตาต์ สถานที่ใช้ประชุมของสมัชชาแห่งชาติ และในเช้าวันที่ 20 มิถุนายน 1789 เหล่าสมาชิกสมัชชาแห่งชาติต่างตกตะลึงเมื่อพบว่าห้องโถงถูกลงกลอนและเฝ้ายามโดยทหารหลวง พวกเขาจึงพากันไปรวมตัวที่สนามเฌอเดอโปมและร่วมกันประกาศ[[คำปฏิญาณสนามเทนนิส]] ({{lang|fr|''Serment du Jeu de Paume''}}) ว่า ''"จะไม่มีวันแตกแยก และจะรวมตัวกันไม่ว่าในที่แห่งหนหรือสถานการณ์ใดก็ตาม จนกว่าธรรมนูญแห่งอาณาจักรจะถูกตราขึ้น"''<ref>{{Cite book |title= Proceedings of the Bunker Hill Monument Association at the annual meeting |first=Marshall Putnam |last=Thompson |chapter= The Fifth Musketeer: The Marquis de la Fayette |url=http://books.google.com/books?id=qbvW7zpvRg8C|page= 50 |year= 1914 |accessdate=10 February 2011 |postscript= {{inconsistent citations}}.}}</ref> ความพยายามของพระเจ้าหลุยส์ที่จะให้สภานี้เป็นโมฆะประสบความล้มเหลว พระองค์เริ่มยอมรับอำนาจของสมัชชาแห่งชาติในวันที่ 27 มิถุนายน<ref name="Hanson2007">{{cite book|author=Paul R. Hanson|title=The A to Z of the French Revolution|url=https://books.google.com/books?id=yYJ4AAAAQBAJ&pg=PR14|date=23 February 2007|publisher=Scarecrow Press|isbn=978-1-4617-1606-8|page=14}}</ref> สมัชชาแห่งชาติได้รับเสียงสนับสนุนจากชาวปารีสและเมืองอื่นๆของฝรั่งเศส<ref name="Schama">Schama 2004, p. 312</ref>
 
เมื่อพระเจ้าหลุยส์ทรงยอมรับสถานะของสมัชชาแห่งชาติ ทรงขอให้อีกสองฐานันดรเข้าร่วมประชุมกับสมัชชาแห่งชาติ ไม่นานหลังจากนั้น เกินครึ่งของฐานันดรที่หนึ่งก็ยอมเข้าร่วมประชุมกับสมัชชาแห่งชาติ ขณะที่ผู้แทนฐานันดรที่สองยอมเข้าร่วมเพียง 47 คน ในวันที่ 9 กรกฎาคม สมัชชาแห่งชาติถูกเปลี่ยนชื่อเป็น[[สภาร่างธรรมนูญแห่งชาติ (ฝรั่งเศส)|สภาธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแห่งชาติ]] ({{lang|fr|''Assemblée nationale constituante''}}) ทำหน้าที่เป็นฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ในองค์กรเดียว<ref name="Hanson2007">{{cite book|author=Paul R. Hanson|title=The A to Z of the French Revolution|url=https://books.google.com/books?id=yYJ4AAAAQBAJ&pg=PR14|date=23 February 2007|publisher=Scarecrow Press|isbn=978-1-4617-1606-8|page=14}}</ref>
===สภาธรรมนูญแห่งชาติ===
เมื่อพระเจ้าหลุยส์ทรงยอมรับสถานะของสมัชชาแห่งชาติ ทรงขอให้อีกสองฐานันดรเข้าร่วมประชุมกับสมัชชาแห่งชาติ ไม่นานหลังจากนั้น เกินครึ่งของฐานันดรที่หนึ่งก็ยอมเข้าร่วมประชุมกับสมัชชาแห่งชาติ ขณะที่ผู้แทนฐานันดรที่สองยอมเข้าร่วมเพียง 47 คน ในวันที่ 9 กรกฎาคม สมัชชาแห่งชาติถูกเปลี่ยนชื่อเป็น[[สภาธรรมนูญแห่งชาติ (ฝรั่งเศส)|สภาธรรมนูญแห่งชาติ]] ({{lang|fr|''Assemblée nationale constituante''}}) ทำหน้าที่เป็นฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ในองค์กรเดียว<ref name="Hanson2007">{{cite book|author=Paul R. Hanson|title=The A to Z of the French Revolution|url=https://books.google.com/books?id=yYJ4AAAAQBAJ&pg=PR14|date=23 February 2007|publisher=Scarecrow Press|isbn=978-1-4617-1606-8|page=14}}</ref>
 
=== การทลายคุกบัสตีย์ ===
{{บทความหลัก|การทลายคุกบัสตีย์}}
พระเจ้าหลุยส์ได้รับแรงกดดันอีกครั้งจากพระนาง[[มารี อ็องตัวแน็ต]] ผู้เป็นมเหสี และเคานต์แห่งอาร์ตัว ({{lang|fr|''Comte d'Artois''}}) ผู้เป็นอนุชา (ต่อมาคือ[[พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าชาร์ลที่ 10]]) พระเจ้าหลุยส์จ้างกองทหารต่างชาติเข้ามาประจำการในกรุงปารีสและพระราชวังแวร์ซาย นอกจากนี้พระเจ้าหลุยส์ยังทรงปลด[[ฌัก แนแกร์]] (ผู้เป็นดั่งสัญลักษณ์ของฐานันดรที่สาม) ลงจากตำแหน่งอีกครั้งในวันที่ 11 กรกฎาคม 1789 กองทัพหลวงฝรั่งเศสมีทหารรับจ้างต่างชาติอย่างสวิสและเยอรมันประจำการอยู่ในสัดส่วนที่ไม่น้อยเลย สาเหตุที่จ้างทหารต่างชาติเหล่านี้มาเนื่องจากถูกมองว่าควบคุมอารมณ์ความรู้สึกได้ดีกว่าทหารชาวฝรั่งเศสที่จะต้องมารับมือกับคนชาติเดียวกัน<ref>Munro Price, p. 76 ''The Fall of the French Monarchy'', {{ISBN|0-330-48827-9}}</ref> ในเดือนกรกฎาคม 1789 คาดว่าทหารรับจ้างต่างชาติที่ตรึงกำลังในปารีสและแวร์ซายนี้มีจำนวนมากถึง 25,000 นาย<ref>Jaques Godechot. "The Taking of the Bastille July 14th, 1789", p. 258. Faber and Faber Ltd 1970.</ref> ถึงจุดนี้กล่าวได้ว่าพระเจ้าหลุยส์เสียอำนาจควบคุมกรุงปารีสไปชั่วคราว
 
[[ไฟล์:Anonymous - Prise de la Bastille.jpg|thumb|260px|[[การทลายคุกบัสตีย์]]]]
ข่าวการปลดแนแกร์ไปถึงกรุงปารีสในบ่ายวันที่ 12 กรกฎาคม ชาวปารีสเดือดดาลมาก มองว่านี่คือการก่อรัฐประหารเงียบโดยกลุ่มอำนาจเก่า นอกจากนี้ การที่ทหารหลวงตรึงกำลังในหลายจุด ทั้งที่วังแวร์ซาย, ลาน[[ช็องเดอมาร์ส]] และ[[แซ็ง-เดอนี]] ทำให้ประชาชนมองว่าพระเจ้าหลุยส์คิดจะใช้กำลังทหารล้มล้างสภาธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแห่งชาติซึ่งกำลังจัดการประชุมกันที่แวร์ซาย ประชาชนชาวปารีสนับหมื่นออกมาชุมนุมกันที่ลานหน้า[[ปาแล-รัวยาล|พระราชวังหลวง]] นักสื่อสารมวลชน[[กามีย์ เดมูแล็ง]] ({{lang|fr|''Desmoulins''}}) ขึ้นไปยืนบนโต๊ะและประกาศว่า: ''"ราษฎรทั้งหลาย! จะมัวเสียเวลาไม่ได้อีกแล้ว สำหรับผู้รักชาติ การปลดแนแกร์มันก็คือเสียงระฆังลางร้ายของ[[การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว|วันเซนต์บาโทโลมิว]]นี่เอง คืนนี้กองทหารสวิสและเยอรมันทั้งหมดจะเคลื่อนพลออกจากช็องเดอมาร์สมาฆ่าพวกเราตายหมด ทางรอดเดียวที่เหลืออยู่ คือจับอาวุธ!"''<ref name="Mignet, History..., Chapter I">{{harvnb|Mignet|1824|loc=§Chapter I}}</ref>
เช้าวันที่ 14 กรกฎาคม ประชาชนชาวปารีสบุกเข้าไปยัง[[ออแตลเดแซ็งวาลีด]] ({{lang|fr|''Hôtel des Invalides''}}) อันเป็นหนึ่งในคลังแสงของกองทัพ เพื่อรวบรวมอาวุธที่ถูกเก็บไว้ที่นั่น ซึ่งเป็นปืนยาวราว 30,000 กระบอกแต่ไม่มีกระสุนและดินปืน ผู้ดูแลออแตลเดแซ็งวาลีดได้สั่งให้ขนดินปืนจำนวน 250 ถังไปเก็บไว้ที่คุกบัสตีย์ไม่กี่วันก่อนหน้านั้นแล้ว<ref name="ReferenceC">Simon Schama, p. 399 ''[[Citizens: A Chronicle of the French Revolution]]'', {{ISBN|0-670-81012-6}}</ref> (ขณะนั้นคุกบัสตีย์มีนักโทษถูกจองจำอยู่เพียงเจ็ดคน) ฝูงชนจึงพากันไปชุมนุมรอบคุกบัสตีย์ในช่วงสาย พวกเขายื่นคำขาดให้คุกยอมจำนน ให้คุกรื้อถอนปืนใหญ่และมอบอาวุธและดินปืนทั้งหมดแก่กองกำลังประชาชน<ref name="ReferenceC"/> จนกระทั่งเวลา 13:30 นาฬิกา ประชาชนบางส่วนแอบปีนเข้าไปยังหอประตูใหญ่ของคุกเพื่อปลดโซ่ของสะพานชัก ทหารผู้คุมคุกตะโกนให้ประชาชนกลับออกไป ในที่สุดเกิดเสียงปืนดังขึ้น ทำให้การชุมนุมภายนอกเกิดเป็นการจลาจลในทันที การปะทะระกว่างคุกกับประชาชนดำเนินไปถึงเวลา 15 นาฬิกา ฝ่ายประชาชนได้ขนปืนใหญ่พระนารายณ์ที่พบในคลังแสงจำนวนสองกระบอกมาสมทบ<ref>ไกรฤกษ์ นานา. [https://www.silpa-mag.com/history/article_10835 ปืนใหญ่พระนารายณ์ที่ปารีส] ศิลปวัฒนธรรม ธันวาคม 2557</ref> ครั้นในเวลา 17:30 นาฬิกาก็สามารถปลดสะพานลงมาได้<ref>Schama (1989), p. 403</ref> ประชาชนจึงกรูเข้าไปในคุก ตลอดเวลาของการทลายคุกนี้เพื่อเอาอาวุธ จากนั้นจึงพากันกลับไปตั้งมั่นที่ออแตลเดแซ็งวาลีด กองทหารต่างชาติซึ่งตรึงกำลังที่ช็องเดอมาร์สไม่ได้เข้าแทรกแซงแต่ประการใดเลย
 
เช้าวันที่ 14 กรกฎาคม ประชาชนชาวเมืองปารีสบุกเข้าไปยัง[[ออแตลเดแซ็งวาลีด]] ({{lang|fr|''Hôtel des Invalides''}}) อันเป็นหนึ่งในคลังแสงของกองทัพ เพื่อรวบรวมอาวุธที่ถูกเก็บไว้ที่นั่น ซึ่งเป็นและยึดปืนยาวราว 30,000 กระบอกแต่ไม่มีกระสุนและดินปืน ผู้ดูแลออแตลเดแซ็งวาลีดได้สั่งให้ขนดินปืนจำนวน 250 ถังไปเก็บไว้ที่คุกบัสตีย์ไม่กี่วันก่อนหน้านั้นแล้ว<ref name="ReferenceC">Simon Schama, p. 399 ''[[Citizens: A Chronicle of the French Revolution]]'', {{ISBN|0-670-81012-6}}</ref> (ขณะนั้นคุกบัสตีย์มีนักโทษถูกจองจำอยู่เพียงเจ็ดคน) ฝูงชนชาวเมืองจึงพากันไปชุมนุมรอบคุกบัสตีย์ในช่วงสาย พวกเขายื่นคำขาดให้คุกยอมจำนน ให้คุกรื้อถอนปืนใหญ่บนกำแพงและมอบอาวุธและดินปืนทั้งหมดแก่กองกำลังประชาชน<ref name="ReferenceC"/> จนกระทั่งเวลา 13:30 นาฬิกา ประชาชนบางส่วนแอบปีนเข้าไปยังหอประตูใหญ่ของคุกเพื่อปลดโซ่ของสะพานชัก ทหารผู้คุมคุกตะโกนให้ประชาชนกลับออกไป ในที่สุดเกิดเสียงปืนดังขึ้น ทำให้การชุมนุมภายนอกเกิดเป็นการจลาจลในทันที การปะทะระกว่างคุกกับประชาชนดำเนินไปกันด้วยอาวุธจนถึงเวลา 15 นาฬิกา ฝ่ายประชาชนได้ขนปืนใหญ่พระนารายณ์ที่พบในคลังแสงจำนวนสองกระบอกมาสมทบ<ref>ไกรฤกษ์ นานา. [https://www.silpa-mag.com/history/article_10835 ปืนใหญ่พระนารายณ์ที่ปารีส] ศิลปวัฒนธรรม ธันวาคม 2557</ref> ครั้นในเวลา 17:30 นาฬิกาก็สามารถปลดสะพานข้ามคูลงมาได้<ref>Schama (1989), p. 403</ref> ประชาชนจึงกรูเข้าไปในคุก ตลอดเวลาของการทลายคุกนี้เพื่อเอาอาวุธและดินปืน จากนั้นจึงและพากันกลับไปตั้งมั่นที่ออแตลเดแซ็งวาลีด กองทหารต่างชาติซึ่งตรึงกำลังที่ช็องเดอมาร์สไม่ได้เข้าแทรกแซงแต่ประการใดเลย
พระเจ้าหลุยส์ทราบเรื่องนี้ในเช้าวันถัดมาจากดยุกเดอลาโรฌฟูโก ทรงถามดยุกว่า ''"เขาจะกบฏกันเหรอ?"'' ดยุกตอบว่า ''"มิได้พะยะค่ะ มิใช่การกบฏ แต่เป็นการปฏิวัติ"''<ref>Guy Chaussinand-Nogaret, ''La Bastille est prise'', Paris, Éditions Complexe, 1988, p. 102.</ref> พระเจ้าหลุยส์ทรงเรียกแนแกร์มาดำรงตำแหน่งอีกครั้งในวันที่ 16 กรกฎาคม แนแกร์ได้พบกับประชาชนที่[[ออแตลเดอวีล]] ({{lang|fr|''l'Hôtel de Ville''}}) ซึ่งถูกประดับไปด้วยธงสามสีคือแดง-ขาว-น้ำเงิน วันเดียวกันนั้น เคานต์แห่งอาร์ตัวก็ได้หลบหนีออกนอกประเทศ ถือเป็นพระญาติองค์แรก ๆ ที่หนีออกนอกประเทศในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส หลังจากนั้นไม่นาน กองอารักษ์ชาติ ({{lang|fr|''Garde Nationale''}}) ซึ่งเป็นกองกำลังติดอาวุธโดยประชาชนก็ได้ถูกตั้งขึ้นอย่างรีบเร่งโดยชาวปารีส ในไม่ช้าทั่วประเทศก็มีกองอารักษ์ชาติตามอย่างกรุงปารีส กองอารักษ์ชาตินี้อยู่ใต้การบัญชาการของ[[ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต|นายพล เดอ ลา ฟาแย็ต]] ซึ่งผ่าน[[สงครามปฏิวัติอเมริกา]]มาแล้ว เมื่อพระเจ้าหลุยส์เห็นว่าทหารต่างชาติไม่สามารถรักษาความสงบไว้ได้ ก็ทรงปลดประจำการทหารเหล่านั้น{{อ้างอิง}}
 
===ประชาชนตั้งคอมมูนปารีส===
เช้าวันที่ 15 กรกฎาคม พระเจ้าหลุยส์ทราบการทลายคุกจากดยุกเดอลาโรฌฟูโก ทรงถามดยุกว่า ''"เขาจะกบฏกันเหรอ?"'' ดยุกตอบว่า ''"มิได้พะยะค่ะ มิใช่การกบฏ แต่เป็นการปฏิวัติ"''<ref>Guy Chaussinand-Nogaret, ''La Bastille est prise'', Paris, Éditions Complexe, 1988, p. 102.</ref> พระเจ้าหลุยส์กลัวความรุนแรงจากฝูงชน จึงทรงแต่งตั้ง[[ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต|นายพล เดอ ลา ฟาแย็ต]] เป็นผู้บัญชาการกองอารักษ์ชาติ ({{lang|fr|''Garde Nationale''}}) เพื่อรักษาความเป็นระเบียบภายใต้อำนาจสภา อีกด้านหนึ่ง ผู้แทนชาวปารีส 144 คนนำโดย[[ฌ็อง ซีลแว็ง บายี]]<ref>[[François Furet]] and Mona Ozouf, eds. ''A Critical Dictionary of the French Revolution'' (1989), pp. 519–28.</ref> ได้จัดตั้งคณะปกครองกรุงปารีสที่ชื่อว่า[[คอมมูนปารีส (การปฏิวัติฝรั่งเศส)|คอมมูนปารีส]] ({{lang|fr|''Commune de Paris''}}) ถึงจุดนี้ พระเจ้าหลุยส์เสียอำนาจควบคุมเหนือกรุงปารีสไปแล้ว
 
พระเจ้าหลุยส์ทรงเรียกแนแกร์มาดำรงตำแหน่งอีกครั้งในวันที่ 16 กรกฎาคม แนแกร์ได้พบกับประชาชนที่[[ออแตลเดอวีล]] ({{lang|fr|''l'Hôtel de Ville''}}) ซึ่งถูกประดับไปด้วยธงไตรรงค์ แดง-ขาว-น้ำเงิน วันเดียวกันนั้น เคานต์แห่งอาร์ตัวก็ได้หลบหนีออกนอกประเทศ ถือเป็นพระญาติองค์แรก ๆ ที่หนีออกนอกประเทศในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์เสด็จเยือนปารีสพร้อมบรรดาสมาชิกสภานับร้อยคนในวันที่ 17 กรกฎาคม พระองค์ยอมรับธงไตรรงค์เป็นธงชาติฝรั่งเศส เกิดความสมานฉันท์ขึ้นชั่วคราว พระองค์ได้รับยกย่องเป็น ''หลุยส์ที่ 16 พระบิดาแห่งฝรั่งเศสและกษัตริย์แห่งเสรีชน''{{sfn|Schama|1989|pp=423-424}}
 
===การเดินขบวนสู่แวร์ซายของสตรี===
{{main|การเดินขบวนสู่แวร์ซาย}}
 
5 ตุลาคม 1789 ชาวปารีสราว 7,000-9,000 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสตรี ได้เดินขบวนจากปารีสไปยัง[[พระราชวังแวร์ซาย]]เพื่อเรียกร้องขนมปังจากกษัตริย์ พระเจ้าหลุยส์รับปากว่าจะแจกจ่ายอาหารจากหลังหลวงให้ ทำให้ส่วนหนึ่งเดินทางกลับปารีส แต่ส่วนใหญ่ไม่เชื่อในคำสัญญาจึงยังคงปักหลักที่พระราชวัง พระองค์จึงทรงประกาศยอมรับกฤษฎีกาสิงหาคม (กฎหมายเลิกระบบศักดินา) และทรงยอมรับประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองโดยไม่มีเงื่อนไข วันต่อมาเกิดความรุนแรงขึ้นในพระราชวังและมีการปะทะกันถึงขึ้นเสียชีวิต [[ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต|นายพล เดอ ลา ฟาแย็ต]] ผู้บัญชาการกองอารักษ์ชาติ ทูลเชิญพระเจ้าหลุยส์กลับไปประทับยัง[[พระราชวังตุยเลอรี]]ในปารีส ภายหลังเหตุการณ์นี้ พระเจ้าหลุยส์มีอารมณ์เศร้าหมองเหมือนเป็นอัมพาตทางจิตใจ ราชการแผ่นดินจึงตกอยู่ในการตัดสินใจของราชินี[[มารี อ็องตัวแน็ต]]
 
=== การจับกุมองค์กษัตริย์ ณ วาแรน ===
[[ไฟล์:Arrest of Louis XVI and his Family, Varennes, 1791.jpg|260px|thumb|พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 และราชินีถูกจับกุม ณ เมืองวาแรน]]
{{main|การเสด็จสู่วาแรน}}
มิถุนายน 1791 มีข่าวลือสะพัดอย่างหนาหูว่า พระนางอ็องตัวแน็ตได้แอบติดต่อกับพระเชษฐา คือ[[จักรพรรดิเลโอพ็อลท์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] เพื่อจะให้ทรงยกทัพมาตีฝรั่งเศสและคืนอำนาจให้ราชวงศ์ ฝ่ายพระเจ้าหลุยส์นั้นไม่ได้ทรงพยายามหนีออกนอกประเทศหรือรับความช่วยเหลือ แต่จะทรงหนีไปตั้งมั่นอยู่กับนายพลบุยเล ที่จงรักภักดีและสัญญาว่าจะให้ความช่วยเหลือแก่พระองค์ พระองค์เสด็จออกจากพระราชวังตุยเลอรีส์ยเลอรีในคืนวันที่ 20 มิถุนายน 1791 แต่ทรงถูกจับได้ที่เมือง[[การเสด็จสู่วาแรน|วาแรน]] ในวันต่อมา ส่งผลให้ความเชื่อถือของประชาชนที่มีต่อพระองค์นั้นลดลงอย่างมากฮวบฮาบ พระองค์ถูกนำตัวกลับมากักบริเวณในกรุงปารีส
 
=== รัฐธรรมนูญร่างเสร็จ/ปราบฝ่ายสาธารณรัฐนิยม ===
แม้ว่าสมาชิกส่วนใหญ่ของสภาจะนิยมระบอบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] มากกว่าระบอบ[[สาธารณรัฐ]]ก็ตาม{{อ้างอิง}} แต่ ณ ขณะนั้น พระเจ้าหลุยส์ก็ไม่ได้มีบทบาทมากไปกว่าหุ่นเชิด พระองค์ถูกบังคับให้ปฏิญาณตนต่อรัฐธรรมนูญ และให้ยอมรับเงื่อนไขที่ว่า หากกระทำการใด ๆ ที่จะชักนำให้กองทัพต่างชาติมาโจมตีฝรั่งเศส หรือกระทำสิ่งที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ให้ถือว่าพระองค์สละราชสมบัติโดยอัตโนมัติ
 
ขณะเดียวกันนั้น [[ฌัก ปีแยร์ บรีโซ]] ได้ร่างประกาศโจมตีพระเจ้าหลุยส์ มีสาระสำคัญว่าพระเจ้าหลุยส์ทรงสละราชสมบัติไปตั้งแต่พระองค์เสด็จออกหนีจากพระราชวังตุยเลอรีแล้ว{{อ้างอิง}} ฝูงชนจำนวนมากพยายามเข้ามาในช็องเดอมาร์สเพื่อลงนามในใบประกาศนั้น ทำให้เกิดความวุ่นวายขึ้น สภาร่างธรรมนูญได้ขอร้องให้เทศบาลกรุงคอมมูนปารีสช่วยรักษาความสงบ แต่ไม่สำเร็จ ในที่สุด กองทหารองครักษ์อารักษ์ชาติภายใต้การบัญชาการของนายพล เดอ ลา ฟาแย็ต ก็ได้เข้ามารักษาความสงบ ฝูงชนได้ปาก้อนหินใส่องครักษ์กองอารักษ์ชาติในช่วงแรก องครักษ์กองอารักษ์ชาติโต้ตอบด้วยการยิงขึ้นฟ้า แต่ไม่สำเร็จ จึงจำต้องยิงปืนใส่ฝูงชน ทำให้ประชาชนตายไปประมาณ 50 คน{{อ้างอิง}}
 
หลังจากการสังหารหมู่ครั้งนี้ ทางการก็ได้ดำเนินการปราบปรามพวกสมาคมสาธารณรัฐนิยมสาธารณรัฐต่าง ๆ รวมทั้งหนังสือพิมพ์ของพวกนี้อีกด้วย เช่น หนังสือพิมพ์''เพื่อนประชาชน'' ({{lang|fr|''L'Ami du Peuple''}}) ของ[[ฌ็อง-ปอล มารา]] บุคคลที่มีแนวคิดแบบนี้เช่นมาราและ[[กามีย์ เดมูแล็ง]] ต่างพากันหลบซ่อน ส่วน[[ฌอร์ฌ ด็องตง]] หนีไปอังกฤษ
 
ขณะที่ภายในฝรั่งเศสกำลังวุ่นวาย เหล่าราชวงศ์ของยุโรปนำโดยกษัตริย์[[พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย]], [[จักรพรรดิออสเตรียเลโอพ็อลท์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิเลโอพ็อลท์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] และตลอดจนพระอนุชาของพระเจ้าหลุยส์ก็ได้ร่วมมือกันออก[[คำประกาศของดยุกแห่งเบราน์ชไวค์]] โดยมีเป้าหมายสำคัญคือให้พระเจ้าหลุยส์มีอิสรภาพสมบูรณ์และให้ยุบสมัชชาแห่งชาติ ถ้าหากสิ่งเหล่านี้ไม่เกิดขึ้นก็จะส่งกองทัพโจมตีฝรั่งเศสเพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมาย แต่ประชาชนชาวฝรั่งเศสไม่สนใจต่อคำประกาศดังกล่าว และเตรียมการต่อต้านอย่างแข็งขัน โดยส่งกำลังทหารไปยังชายแดน
 
==ผลของการปฏิวัติในช่วงต้น==
===การเลิกระบบศักดินา===
{{บทความหลัก|การเลิกระบบศักดินาในประเทศฝรั่งเศส}}
 
ปลายเดือนกรกฎาคม 1789 มีรายงานว่าชาวไร่ผู้ก่อจลาจลกำลังมุ่งหน้าเข้ากรุงปารีสจากทั่วทุกทิศของประเทศ สภาจึงตัดสินใจที่จะปฏิรูปโครงสร้างทางสังคมเสียใหม่เพื่อหวังลดอุณหภูมิทางการเมืองและจะนำไปสู่การปรองดอง ในคืนวันที่ 11 สิงหาคม 1789 สภาธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแห่งชาติได้มีมติล้มเลิกระบบศักดินาทั้งปวง ประชาชนทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน และเลิกเอกสิทธิการงดเว้นภาษีของนักบวช รวมทั้งให้ทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมในการประกอบอาชีพ นักประวัติศาสตร์ [[ฟร็องซัว ฟูเร]] ({{lang|fr|''François Furet''}}) ระบุต่อเหตุการณ์นี้ไว้ว่า:
 
{{quote|''"สังคมแบบเจ้าขุนมูลนายตั้งแต่บนสุดจนถึงล่างสุด ถูกพวกเขาทำลายไปพร้อมอภิสิทธิ์และโครงสร้างที่ว่าคนต้องมีสังกัด พวกเขาแทนที่โครงสร้างเหล่านี้ด้วยสิ่งที่ใหม่กว่า นั่นคือความเป็นปัจเจกบุคคล มีเสรีที่จะทำอะไรก็ได้ที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย...ดังนั้นสิ่งที่ขับเคลื่อนการปฏิวัติในช่วงแรก คือความเชื่อแบบปัจเจกนิยมจากระดับรากฐาน"''<ref>Furet, ''Critical Dictionary of the French Revolution,'' p. 112</ref>}}
เส้น 87 ⟶ 109:
เขตการปกครองของสภาอำมาตย์ ({{lang|fr|''parlements''}}) ทั้ง 13 แห่งทั่วประเทศถูกระงับในเดือนพฤศจิกายน 1789 และล้มเลิกอย่างเป็นทางการในเดือนกันยายน 1790 สถาบันเสาหลักแบบเก่าถูกโค่นล้มลงทั้งหมด
 
=== คำประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง ===
[[ไฟล์:Declaration of the Rights of Man and of the Citizen in 1789.jpg|250px|thumb|[[ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง]]]]
{{บทความหลัก|ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง}}
 
เป็นคำประกาศที่ปูทางไปสู่การร่าง[[รัฐธรรมนูญ]] ได้รับแรงบันดาลใจมาจากปรัชญาในยุคเรืองปัญญา และคำประกาศนี้ได้แบบอย่างจาก[[รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา]] คำประกาศนี้ผ่านการพิจารณาของสภาฯ เมื่อวันที่สอง6 26 สิงหาคม 1789 มีเนื้อหาหลักแสดงถึงหลักการพื้นฐานของการปฏิวัติ ภายใต้คำขวัญที่ว่า "เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ"
 
ในขณะนั้นมีข่าวลือในหมู่ประชาชนว่าจะมีการยึดอำนาจคืนของฝ่ายนิยมระบอบเก่าเมื่อชาวปารีสรู้ข่าวก็มีการตื่นตัวกันขนานใหญ่ ดังนั้นประชาชนชาวปารีสซึ่งส่วนมากเป็นผู้หญิงได้[[การเดินขบวนสู่แวร์ซาย|เดินขบวนไปยังพระราชวังแวร์ซาย]] และเชิญพระเจ้าหลุยส์พร้อมทั้งราชวงศ์มาประทับในกรุง[[ปารีส]] ในวันที่ 5-6 ตุลาคม ปีเดียวกัน โดยมีสมาชิกสภาร่างธรรมนูญที่อนุรักษนิยมตามเสด็จกลับกรุงปารีสด้วย สำหรับสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งชาติในขณะนั้นประกอบด้วยสมาชิกที่หัวก้าวหน้าเป็นส่วนมาก แต่มีภารกิจสำคัญอันดับแรกของสภาคือการดำรงสถาบันกษัตริย์ไว้ ดังนั้นจึงยังไม่มีการโค่นล้มสถาบันกษัตริย์ในขณะนั้น
 
สำหรับสมัชชาแห่งชาติ ในขณะนั้นประกอบด้วยสมาชิกที่หัวก้าวหน้าเป็นส่วนมาก แต่มีภารกิจสำคัญอันดับแรกของสภาคือการดำรงสถาบันกษัตริย์ไว้ ดังนั้นจึงยังไม่มีการโค่นล้มสถาบันกษัตริย์ในขณะนั้น
 
=== การปฏิรูปครั้งใหญ่ ===
เส้น 107 ⟶ 127:
=== การปฏิรูปสถานะของนักบวช ===
นอกจากที่ธรณีสงฆ์จะถูกเวนคืนแล้ว การปกครองคริสตจักรในประเทศฝรั่งเศสก็ยังถูกเปลี่ยนแปลง ตามกฎหมายการปกครองคริสตจักรฉบับใหม่ที่ออกเมื่อวันที่ [[12 กรกฎาคม]] 1790 โดยใช้การปกครองประเทศเป็นแม่แบบ คือกำหนดจำนวน[[มุขนายก]] ({{lang|fr|''évêque''}}) ไว้[[มุขมณฑล]]ละ 1 ท่าน และให้เมืองใหญ่แต่ละเมืองมี[[อัครมุขนายก]] ({{lang|fr|''archévêque''}}) 1 ท่าน โดยมุขนายกและอัครมุขนายกแต่ละท่านจะถูกเลือกโดยสมัชชาแห่งชาติ และได้รับเงินเดือนจากรัฐบาล นอกจากนี้ ผู้ที่จะมาเป็นนักบวชในทุกระดับจะต้องสาบานตนว่าจะจงรักภักดีต่อประเทศอีกด้วย
 
=== การจับกุมองค์กษัตริย์ ณ วาแรน ===
{{main|การเสด็จสู่วาแรน}}
มีข่าวลือสะพัดอย่างหนาหูว่า พระนางอ็องตัวแน็ตได้แอบติดต่อกับพระเชษฐา คือ[[จักรพรรดิเลโอพ็อลท์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] เพื่อจะให้ทรงยกทัพมาตีฝรั่งเศสและคืนอำนาจให้ราชวงศ์ ฝ่ายพระเจ้าหลุยส์นั้นไม่ได้ทรงพยายามหนีออกนอกประเทศหรือรับความช่วยเหลือ แต่จะทรงหนีไปตั้งมั่นอยู่กับนายพลบุยเล ที่จงรักภักดีและสัญญาว่าจะให้ความช่วยเหลือแก่พระองค์ พระองค์เสด็จออกจากพระราชวังตุยเลอรีส์ในคืนวันที่ 20 มิถุนายน 1791 แต่ทรงถูกจับได้ที่เมือง[[การเสด็จสู่วาแรน|วาแรน]] ในวันต่อมา ส่งผลให้ความเชื่อถือของประชาชนที่มีต่อพระองค์นั้นลดลงอย่างมาก พระองค์ถูกนำตัวกลับมากักบริเวณในกรุงปารีส
 
=== การสิ้นสุดของสภาธรรมนูญแห่งชาติ ===
[[ไฟล์:Jacques Bertaux - Prise du palais des Tuileries - 1793.jpg|thumb|265px|พระราชวังตุยเลอรีถูกบุกเผาทำลายในวันที่ 10 สิงหาคม 1793]]
แม้ว่าสมาชิกส่วนใหญ่ของสภาจะนิยมระบอบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] มากกว่าระบอบ[[สาธารณรัฐ]]ก็ตาม{{อ้างอิง}} แต่ ณ ขณะนั้น พระเจ้าหลุยส์ก็ไม่ได้มีบทบาทมากไปกว่าหุ่นเชิด พระองค์ถูกบังคับให้ปฏิญาณตนต่อรัฐธรรมนูญ และให้ยอมรับเงื่อนไขที่ว่า หากกระทำการใด ๆ ที่จะชักนำให้กองทัพต่างชาติมาโจมตีฝรั่งเศส หรือกระทำสิ่งที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ให้ถือว่าพระองค์สละราชสมบัติโดยอัตโนมัติ
 
ขณะเดียวกันนั้น [[ฌัก ปีแยร์ บรีโซ]] ได้ร่างประกาศโจมตีพระเจ้าหลุยส์ มีสาระสำคัญว่าพระเจ้าหลุยส์ทรงสละราชสมบัติไปตั้งแต่พระองค์เสด็จออกจากพระราชวังตุยเลอรีแล้ว{{อ้างอิง}} ฝูงชนจำนวนมากพยายามเข้ามาในช็องเดอมาร์สเพื่อลงนามในใบประกาศนั้น ทำให้เกิดความวุ่นวายขึ้น สภาร่างธรรมนูญได้ขอร้องให้เทศบาลกรุงปารีสช่วยรักษาความสงบ แต่ไม่สำเร็จ ในที่สุด กองทหารองครักษ์ภายใต้การบัญชาการของเดอ ลา ฟาแย็ต ก็ได้เข้ามารักษาความสงบ ฝูงชนได้ปาก้อนหินใส่องครักษ์ในช่วงแรก องครักษ์โต้ตอบด้วยการยิงขึ้นฟ้า แต่ไม่สำเร็จ จึงจำต้องยิงปืนใส่ฝูงชน ทำให้ประชาชนตายไปประมาณ 50 คน{{อ้างอิง}}
 
หลังจากการสังหารหมู่ครั้งนี้ ทางการก็ได้ดำเนินการปราบปรามพวกสมาคมนิยมสาธารณรัฐต่าง ๆ รวมทั้งหนังสือพิมพ์ของพวกนี้อีกด้วย เช่น หนังสือพิมพ์เพื่อนประชาชน ({{lang|fr|''L'Ami du Peuple''}}) ของ[[ฌ็อง-ปอล มารา]] บุคคลที่มีแนวคิดแบบนี้เช่นมาราและ[[กามีย์ เดมูแล็ง]] ต่างพากันหลบซ่อน ส่วน[[ฌอร์ฌ ด็องตง]] หนีไปอังกฤษ
 
ขณะที่ภายในฝรั่งเศสกำลังวุ่นวาย เหล่าราชวงศ์ของยุโรปนำโดยกษัตริย์แห่งปรัสเซีย [[จักรพรรดิออสเตรีย]] และพระอนุชาของพระเจ้าหลุยส์ก็ได้ร่วมมือกัน โดยมีเป้าหมายสำคัญคือให้พระเจ้าหลุยส์มีอิสรภาพสมบูรณ์และให้ยุบสมัชชาแห่งชาติ ถ้าหากสิ่งเหล่านี้ไม่เกิดขึ้นก็จะส่งกองทัพโจมตีฝรั่งเศสเพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมาย แต่ประชาชนชาวฝรั่งเศสไม่สนใจต่อคำประกาศดังกล่าว และเตรียมการต่อต้านอย่างแข็งขัน โดยส่งกำลังทหารไปยังชายแดน
 
== อ้างอิง ==