ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติศาสตร์เยอรมนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "แซกโซนี" → "ซัคเซิน" +แทนที่ "วืตเตมบูร์ก" → "เวือร์ทเทิมแบร์ค" +แทนที่ "บาเดน" → "บาเดิน" +แทนที่ "วืร์ซบูร์ก" → "เวือทซ์บวร์ค" +แทนที่ "เบิร์ก" → "แบร์ค" +แทนที่ "ไลพ์ซิจ" → "ไลพ์ซิช" +แทนที่ "พระเจ้าเฟรเดอริค" → "พระเจ้าฟรีดริช" +แทนที่ "ไซเลเซีย" → "ไซลีเซีย" +แทนที่ "แคว้นต่าง ๆ" → "แว่นแคว้น" +แทนที่ "บรานเดนบวร์ก" → "บรันเดินบวร์ค" +แทนที่ "เวสต์ฟาเลีย" → "เว็สท์ฟาเลิน" +แทนที่ "ออกซ์บูร์ก" → "เอาคส์บวร์ค" +แทนที่ "เฟรเดอริค" → "ฟรีดริช" +แทนที่ "ฮีส" → "เฮ็สเซอ"...
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เฮนรี" → "ไฮน์ริช" +แทนที่ "บิชอป" → "มุขนายก" +แทนที่ "อาร์ชมุขนายก" → "อัครมุขนายก" +แทนที่ "มาร์เกรฟ" → "มาร์คกราฟ" +แทนที่ "แมกซิมิเลียน" → "มัคซีมีลีอาน" +แทนที่ "เบรเมน" → "เบรเมิน" +แทนที่ "เมโรวิงเจียน" → "เมรอแว็งเฌียง" +แทนที่ "เผ่าต่าง ๆ" → "เผ่าทั้งหลาย" +แทนที่ "ออตโต" → "อ็อทโท" +แทนที่ "แมกยาร์" → "มัจยาร์" +แทนที่ "เอลเบ " → "เอ็ลเบอ" +แทนที่ "ทัพพระจักรพรรดิ" → "ทัพจักรวรรดิ" +แทนที่ "สวมมงกุฎ" → "ราชาภิเษก" +แทนที่ "มักซีมีเลียน" → "มัคซีมีลีอาน" ด้วย[...
บรรทัด 3:
แนวคิดของ[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]ในฐานะที่เป็นภูมิภาคที่แตกต่างในยุโรปกลางสามารถเชื่อมโยงไปถึงผู้บัญชาการทหารโรมัน [[จูเลียส ซีซาร์]] ผู้ที่กล่าวอ้างถึงพื้นที่ดินแดนที่ยังไม่ได้ถูกพิชิตทางด้านตะวันออกของแม่น้ำไรน์คือเจอร์มาเนีย(Germania) ดังนั้นจึงมีความแตกต่างจาก[[กอล|พวกกอล]](ฝรั่งเศส), ซึ่งเขาพิชิตลงได้ การได้รับชัยชนะของ[[กลุ่มชนเจอร์แมนิก|ชนเผ่าเจอร์มานิค]]ใน[[ยุทธการที่ป่าทอยโทบวร์ค]](Teutoburg Forest)(ปีค.ศ. 9) ได้ขัดขวางการผนวกดินแดนโดย[[จักรวรรดิโรมัน]] แม้ว่า[[มณฑลของโรมัน]]ของ[[อัปเปอร์เจอร์เมเนีย|เกร์มาเนียซูเปรีออร์]]และ[[โลว์เออร์เจอร์เมเนีย|เกร์มาเนียอินเฟรีออร์]]จะถูกสร้างขึ้นตามแนว[[แม่น้ำไรน์]] ภายหลัง[[จักรวรรดิโรมันตะวันตก|การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก]] [[ชาวแฟรงก์|พวกแฟรงก์]]ได้พิชิตชนเผ่าเจอร์มานิคทางตะวันตกอื่นๆ เมื่อ[[ราชอาณาจักรแฟรงก์|จักรวรรดิแฟรงก์]]ได้ถูกแบ่งแยกระหว่างทายาทของ[[ชาร์เลอมาญ]]ในปีค.ศ. 843 ส่วนทางด้านตะวันออกได้กลายเป็น[[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก]] ในปี ค.ศ. 962 [[ออทโทที่ 1 มหาราช|พระเจ้าออทโทที่ 1]] ได้กลายเป็น[[จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]องค์แรกของ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ซึ่งเป็นรัฐเยอรมันในสมัยยุคกลาง
 
ในช่วงปลายยุคกลาง ดยุกของแคว้น เจ้าชายและบิชอปมุขนายกต่างได้รับอำนาจจากค่าใช่จ่ายอันสิ้นเปลืองของจักรพรรดิ [[มาร์ติน ลูเทอร์|มาร์ติน ลูเธอร์]]ได้นำ[[การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์]]ต่อต้านศาสนจักรคาทอลิก หลังปี ค.ศ. 1517 เนื่องจากรัฐทางตอนเหนือได้กลายเป็นพวกนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ ในขณะที่รัฐทางตอนใต้ที่เหลือเป็นพวกนับถือนิกายคาทอลิก ทั้งสองฝ่าย​ของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้เกิดการปะทะกันใน[[สงครามสามสิบปี]] (ค.ศ. 1618-1648) ซึ่งเป็นความพินาศย่อยยับแก่พลเรือนยี่สิบล้านคนที่อาศัยอยู่ในทั้งสองฝ่าย สงครามสามสิบปีได้นำไปสู่การทำลายล้างแก่เยอรมนีอย่างมาก; มากกว่า 1/4 ของประชากรและ 1/2 ของประชากรชายในรัฐเยอรมันได้ถูกฆ่าตายโดยความวิบัติสงคราม ปีค.ศ. 1648 ได้มีผลทำให้การสิ้นสุดลงของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจุดเริ่มต้นของระบบรัฐชาติที่ทันสมัย ด้วยเยอรมนีได้แบ่งแยกออกเป็นรัฐอิสระหลายแห่ง เช่น [[ปรัสเซีย]] [[รัฐบาวาเรีย|บาวาเรีย]] [[ซัคเซิน]] [[ประเทศออสเตรีย|ออสเตรีย]]และรัฐอื่นๆ ซึ่งยังคงควบคุมดินแดนนอกพื้นที่ที่ถือว่าเป็น"เยอรมนี"
 
ภายหลัง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]และ[[สงครามนโปเลียน]] ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1803-1815 ระบบศักดินาได้หมดไปและเสรีนิยมและชาตินิยมได้ปะทะกันด้วยผลสะท้อน การปฏิวัติเยอรมัน ปี ค.ศ. 1848-49 ได้ล้มเหลวลง [[การปฏิวัติอุตสาหกรรม|การปฏิวัติอุสาหกรรม]]ได้ทำให้เกิดความทันสมัยของเศรษฐกิจเยอรมัน ได้นำไปสู่การเติบโตอย่างรวดเร็วของเมืองและอุบัติการ์ณของขบวนการสังคมนิยมในเยอรมนี ปรัสเซีย, กับเมืองหลวงคือ[[เบอร์ลิน]], ได้เติบโตขึ้นในอำนาจ มหาวิทยาลัยของเยอรมันได้กลายเป็นศูนย์กลางชั้นนำของโลกสำหรับวิทยาศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ในขณะที่ดนตรีและศิลปะได้เจริญขึ้น [[การรวมชาติเยอรมัน]](ยกเว้นเพียงออสเตรียและพื้นที่ที่พูดเป็นภาษาเยอรมันของประเทศสวิตเซอร์แลนด์)ได้ประสบความสำเร็จภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี[[อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค]] ด้วยการก่อตั้ง[[จักรวรรดิเยอรมัน]]ในปี ค.ศ. 1871 ซึ่งได้เสนอวิธีแก้ไข[[ปัญหาเยอรมัน]]ออกเป็นสองทางคือ อนุประเทศเยอรมัน(Kleindeutsche Lösung) ทางออกขนาดเล็กของเยอรมัน(เยอรมนีโดยปราศจากออสเตรีย) หรือมหาประเทศเยอรมัน (Großdeutsche Lösung), ทางออกขนาดใหญ่ของเยอรมัน(เยอรมนีรวมเข้ากับออสเตรีย), ในอดีตที่ผ่านมา [[ไรชส์ทาค (จักรวรรดิเยอรมัน)|รัฐสภาไรส์ทาค]]ใหม่ เป็นรัฐสภาการเลือกตั้ง ได้มีบทบาทที่จำกัดในรัฐบาลจักรวรรดิ, เยอรมันได้เข้าร่วมกับมหาอำนาจอื่นๆใน[[จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน|การขยายอาณานิคมในทวีปแอฟริกาและมหาสมุทรแปซิฟิก]]
บรรทัด 21:
แต่ในศตวรรษที่ 4 ชาวฮั่นมาจากเอเชียเป็นนักรบบนหลังม้าที่ป่าเถื่อน เข้าบุกเผาทำลายหมู่บ้านและสังหารชาวเยอรมันอย่างโหดเหี้ยม ทำให้เผ่าเยอรมันต่าง ๆ ทนไม่ไหวต้องหลบหนีเข้าไปในจักรวรรดิโรมัน บ้างด้วยสันติวิธีบ้างก็บุกเข้าไป ทำให้จักรวรรดิโรมันอ่อนแอ จนในค.ศ. 410 โอโดอาเซอร์ (Odoacer) ผู้นำเผ่าเยอรมันเผ่าหนึ่ง ยึดกรุงโรมและปลดจักรพรรดิโรมันองค์สุดท้ายใน [[ค.ศ. 476]] จักรวรรดิโรมันจึงล่มสลาย
 
เมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชาวแฟรงก์ที่ตั้งรกรากในฝรั่งเศสก็เรืองอำนาจที่สุดในยุโรปภายใต้[[ราชวงศ์เมโรวิงเจียนรอแว็งเฌียง]] ในเยอรมนี มีเผ่าต่าง ๆ ทั้งหลายปกครองตนเองได้แก่พวกซูเอบี (Suebi) พวกทือริงงิน (Thuringen) พวกซัคเซิน (Saxons) พวกบาวาเรีย (Bayern) และพวกแฟรงก์ (Franks) ซึ่งจะกลายเป็นชื่อแว่นแคว้น ในเยอรมนี (ชวาเบิน ทือริงเงิน [[ซัคเซิน]] [[บาวาเรีย]] และฟรังเคิน ตามลำดับ) แต่เผ่าเหล่านี้ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของพวกแฟรงก์ ซึ่งแผ่ขยายอำนาจมาในศตวรรษที่ 5 ถึง 8 โดยเฉพาะสงครามกับพวกซัคเซินของพระเจ้า[[ชาร์เลอมาญ]] (Charlemagne) ของชาวแฟรงก์ แห่ง[[ราชวงศ์การอแล็งเฌียง]] ทำให้พวกซัคเซินต้องเข้ารีตศาสนาคริสต์และอยู่ภายใต้การปกครองของพวกแฟรงก์
 
ยังมีเผ่าเยอรมันอีกเผ่า คือ พวก[[ลอมบาร์ด]] (Lombards) เข้าบุก[[อิตาลี]] ทำให้พระสันตะปาปาทรงขอให้พระเจ้าชาร์เลอมาญทรงช่วยเหลือ พระเจ้าชาร์เลอมาญทรงขับไล่พวกลอมบาร์ดได้และได้รับการสวมมงกุฎราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาเป็นจักรพรรดิโรมัน ใน [[ค.ศ. 800]] เป็นจุดเริ่มต้นของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จักรวรรดิของพระเจ้าชาร์เลอมาญถูกแบ่งเป็นสามส่วนตามสนธิสัญญาแวร์ดังใน [[ค.ศ. 843]] อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออกจะกลายเป็นเยอรมนีในปัจจุบัน
 
== จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในสมัยกลาง ==
{{main|จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์}}
 
ราชวงศ์การอแล็งเฌียงสิ้นสุดไปในอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก ผู้นำดัชชีแว่นแคว้นทั้งสี่ (ซัคเซิน, บาวาเรีย, ฟรังเคิน, ชวาเบิน) จึงเลือกดยุกเฮนรีแห่งซัคเซินเป็น[[ไฮน์ริชแห่งซัคเซินเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนี]] (King of Germany) ใน [[ค.ศ. 955]] ชาว[[มัจยาร์]] (Magyars) หรือชาว[[ฮังการี]] เป็นชนเผ่าเร่ร่อนจากเอเชีย บุกมาถึงเยอรมนี เข้าเผาทำลายปล้มสะดมหมู่บ้าน สร้างความเดือดร้อน แต่จักรพรรดิออตโตอ็อทโทก็ทรงขับไล่พวกแมกยาร์มัจยาร์ได้ในการรบที่เลคฟิล์ด (Lechfield) ตามการสนับสนุนของพระสันตะปาปา พระโอรสคือ พระเจ้าออตโตอ็อทโท เข้าช่วยเหลือพระสันตะปาปาจากการยึดครองของกษัตริย์แห่งอิตาลี (อาณาจักรแฟรงก์กลาง) พระเจ้าออตโตอ็อทโทนำทัพเข้าปราบยึดอิตาลี และได้รับการสวมมงกุฎราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาเป็น[[อ็อทโทที่ 1 มหาราช|จักรพรรดิออตโตที่อ็อทโทที่ 1]] (Otto I) ใน [[ค.ศ. 962]] เป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
 
ใน [[ค.ศ. 1033]] [[ราชอาณาจักรบูร์กอญ]]ในฝรั่งเศสถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทำให้จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์มีอาณาเขตไพศาลทั่วยุโรปกลาง และยังแผ่ขยายไปทางตะวันออกปราบปรามชาวสลาฟต่าง ๆ ได้แก่ พวกเวนด์ (Wends) พวกโอโบเดอไรต์ (Oboderites) และพวกโปล (Poles) กลายเป็นแคว้นมัคเลินบวร์ค (Mecklenburg) แคว้นพอเมอเรเนีย (Pomerania) และแคว้นบรันเดินบวร์ค (Brandenburg) กษัตริย์แห่ง[[โบฮีเมีย]] (Bohemia - Czech) ก็เข้าสวามิภักดิ์ ทำให้จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แผ่ขยายอิทธิพลทั้งทางการเมืองและภาษาวัฒนธรรมไปยังดินแดนของชาวสลาฟทางตะวันออก เรียกว่า Ostsiedlung
 
[[ไฟล์:Balduineum Wahl Heinrich VII.jpg|left|thumb|เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกทั้งเจ็ดแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้เลือกจักรพรรดิ]]
จักรพรรดิเฮนรีที่ไฮน์ริชที่ 4 ทรงต้องการจะรวบอำนาจในองค์การศาสนา เช่น การแต่งตั้งบิชอปต่าง ๆ บรรดามุขนายกมาอยู๋อยู่ที่พระองค์ แต่พระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 8 ทรงไม่ยินยอมจึงเกิด[[ข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์]] (Investiture Controversy) พระสันตะปาปาทรงบัพพาชนียกรรม (ขับจากศาสนา) จักรพรรดิเฮนรีในไฮน์ริชใน [[ค.ศ. 1072]] ซึ่งเป็นโทษทีร้ายแรงยิ่งกว่าตายสำหรับคนสมัยนั้น และปลดจักรพรรดิเฮนรีไฮน์ริชจากตำแหน่ง ทำให้บรรดาขุนนางก่อกบฏแย่งอำนาจจากพระเจ้าเฮนรีไฮน์ริชและแยกตัว ทำให้พระเจ้าเฮนรียอมจำนนไฮน์ริชยอมจำนน ใน [[ค.ศ. 1077]] ทรงรอพระสันตะปาปาเท้าเปล่ากลางพายุหิมะที่คาโนสซา (Canossa) เพื่อขอขมาพระสันตะปาปา เป็นชัยชนะของฝ่ายศาสนาต่อฝ่ายโลก ให้อำนาจของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เสื่อมลงแต่บัดนั้น จนใน [[ค.ศ. 1122]] ทั้งสองฝ่ายจึงสงบศึกในโองการพระสันตะปาปาแห่งเมืองวอร์ม (Concordat of Worms)
 
=== ราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟิน ( ค.ศ. 1138 ถึง ค.ศ. 1254) ===
[[จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1]] แห่งราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟิน (Hohenstaufen) ทรงพยายามจะหยุดยั้งสงครามระหว่างพวกขุนนางในเยอรมนี โดยทรงแต่งตั้งดยุกเฮนรีแห่งซัคเซินไฮน์ริชแห่งซัคเซิน (Henry the Lion, Duke of Saxony) จาก[[ตระกูลเวล์ฟ]] (Welf) เป็นดยุกแห่งบาวาเรีย โดยเจ้าครองแคว้นเดิม คือมาร์เกรฟแห่งออสเตรียมาร์คกราฟแห่งออสเตรีย (Margrave of Austria) ได้เลื่อนขั้นเป็นดยุก จักรพรรดิฟรีดริชทรงบุกอิตาลีเพื่อปราบกบฏและทำสงครามกับพระสันตะปาปาแต่อิตาลีรวมตัวเป็น[[สันนิบาตลอมบาร์ด]] (Lombard League) ต่อต้านพระจักรพรรดิและสนับสนุนพระสันตะปาปา จักรพรรดิฟรีดริชทรงกริ้วและปลดดยุกเฮนรีไฮน์ริชที่ไม่ช่วยเหลือพระองค์ ยกบาวาเรียให้ราชวงศ์วิทเทิลส์บัค และแตกแคว้นซัคเซินแบ่งเป็นหลายส่วน
 
[[จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2]] ทรงพยายามจะยึดอิตาลีอีกครั้ง โดยฝ่ายของพระองค์ เรียกว่าพวกกิบเบลลีน (Ghibelline) ต่อสู้กับพวกเกล์ฟ (Guelph) หรือตระกูลเวล์ฟที่ไปเข้าข้างพระสันตะปาปา จักรพรรดิฟรีดริชทรงต้องการจะพ้นจากความวุ่นวายใขเยอรมนี จึงทรงมอบอำนาจให้เจ้าครองแว่นแคว้น ทำให้เจ้าครองแคว้นในเยอรมนีแยกตัวออกไปแตกกระจัดกระจายในสมัยพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 พระสันตะปาปาทรงเอาชนะจักรพรรดิได้
บรรทัด 44:
จักรพรรดิฟรีดริชสิ้นพระชนม์ ทำให้ราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟินล่มสลายจนกลายเป็นสมัยไร้จักรพรรดิ (Interregnum)
 
เมื่อไม่มีผู้นำดยุกรูดอล์ฟแห่งออสเตรีย (Rudolf of Habsburg) จาก[[ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค|ตระกูลฮาพส์บวร์ค]]จึงได้รับเลือกเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนีใน [[ค.ศ. 1273]] แต่ไม่ได้สวมมงกุฎราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิ บรรดาเจ้าครองแว่นแคว้น ก็อาศัยโอกาสตั้งตนเป็นอิสระกันหมด ทำให้พระเจ้ารูดอล์ฟทรงมีอำนาจเฉพาะในแคว้นออสเตรียเท่านั้น สามราชวงศ์คือ ฮาพส์บวร์ค [[ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก|ลักเซมเบิร์ก]] และ[[ราชวงศ์วิทเทิลส์บัค|วิทเทิลส์บัค]] ผลัดกันเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนีใน [[ค.ศ. 1312]] พระเจ้าเฮนรีแห่งโบฮีเมียไฮน์ริชแห่งโบฮีเมีย ตระกูลลักเซมแบร์คสวมมงกุฎราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิ ทำให้มีจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์อีกครั้ง แต่นับแต่นั้นมาจักรพรรดิทุกพระองค์มีอำนาจเฉพาะในแคว้นของตนเท่านั้น เยอรมนีจึงแตกเป็นแคว้นเล็กแคว้นน้อย และรวมกันไม่ได้อีกเลยไปอีก 600 ปี
 
ราชวงศ์ลักเซมแบร์คปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แต่มีอำนาจเฉพาะในแคว้นโบฮีเมียเท่านั้น แม้จักรพรรดิหลายพระองค์จะทรงพยายามกู้พระราชอำนาจคืนแต่ก็ไม่สำเร็จ ใน [[ค.ศ. 1350]] [[กาฬโรคระบาดในยุโรป|กาฬโรค]]ก็ระบาดมายังเยอรมนี คร่าชีวิตผู้คนไปหลายล้าน ใน [[ค.ศ. 1356]] ออกพระราชโองการ[[สารตราทอง]] (Golden Bull) ปรับปรุงระบบการปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ใหม่ โดยการแต่งตั้ง[[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]]เจ็ดองค์ เป็นบรรพชิตสามองค์และเป็นขุนนางสี่คนที่รวมทั้ง
 
# [[อาร์ชบิชอปอัครมุขนายกแห่งโคโลญ]] (Archbishop of Cologne, เยอรมัน: Erzbischof von Köln)
# [[อาร์ชบิชอปแห่งไมนทซ์อัครมุขนายกแห่งไมนทซ์]] (Archbishop of Mainz, เยอรมัน: Erzbischof von Mainz)
# [[อาร์ชบิชอปอัครมุขนายกแห่งเทรียร์]] (Archbishop of Trier, เยอรมัน: Erzbischof von Trier)
# กษัตริย์แห่งโบฮีเมีย (King of Bohemia, เยอรมัน: König von Böhmen)
# [[มาร์เกรฟมาร์คกราฟแห่งบรันเดินบวร์ค]] (Margrave of Brandenburg, เยอรมัน: Markgraf von Brandenburg)
# [[ฟัลทซ์กราฟแห่งไรน์]] (Count Palatinate of the Rhine, เยอรมัน: Plazgraf bei Rhein)
# [[ดยุกแห่งซัคเซิน]] (Duke of Saxony, เยอรมัน: Herzog von Sachsen) เลื่อนขั้นมาจาก ซัคเซิน-วิทเทินบวร์ควิทเทินแบร์ค (Sachsen-Wittenberg)
 
[[ไฟล์:Albrecht Dürer 082.jpg|left|120px|thumb|พระเจ้าซิกิสมุนด์]]
บรรทัด 61:
ใน [[ค.ศ. 1437]] ฟรีดริช ดยุกแห่งออสเตรีย พระชามาดาในพระเจ้าซิกิสมุนด์ ขึ้นเป็น[[จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3]] ทำให้ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ไปอีก 400 ปี
 
[[จักรพรรดิมักมัคซีมีเลียนลีอานที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิมักมัคซีมีเลียนลีอานที่ 1]]ทรงอภิเษกกับแมรีแห่งบูร์กอญมารีแห่งบูร์กอญ (Mary of Burgundy) ทำให้ทรงได้รับแคว้นบูร์กอญและ[[กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ]] (Low Countries) มาครอง ทรงมอบแคว้นบูร์กอญให้พระโอรสคือ[[พระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีล]] (Philip the Handsome) ใน [[ค.ศ. 1495]] ทรงออกจักรวรรดิปฏิรูป (Reichsreform) แบ่งรัฐต่างในจักรวรรดิเป็นกลุ่ม[[เครือราชรัฐ]] (Reichskreise) และตั้งศาลสูงสุดในศาลสูงจักรวรรดิ (Reichskammergeritch) การปฏิรูปของจักรพรรดิมักมัคซีมีเลียนลีอานจะส่งผลต่อการปกครองของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ไปจนล่มสลาย
 
== การปฏิรูปศาสนาและสงครามสามสิบปี ==
กษัตริย์ฝรั่งเศสทรงพยายามจะบุกยึดคาบสมุทรอิตาลีใน [[ค.ศ. 1494]] ใน[[สงครามอิตาลี]] (Italian Wars) จักรพรรดิแมกซิมิเลียนมัคซีมีลีอานทรงร่วมมือกับชาติต่าง ๆ ในยุโรปและพระสันตะปาปาต้านการรุกรานของฝรั่งเศส ใน [[ค.ศ. 1519]] พระโอรสคือพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งสเปน ขึ้นเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ เป็นการรวมสองอาณาจักรทำให้อาณาเขตของราชวงศ์แฮปสบูร์กแผ่ขยาย
 
=== การปฏิรูปศาสนา ===
[[ไฟล์:Martin_Luther,_1529.jpg|right|thumb|มาร์ติน ลูเธอร์]]
{{main|การปฏิรูปศาสนา}}
พระสันตะปาปาทรงต้องการจะหาเงินมาสร้างวิหารอันสวยงามตามสถาปัตยกรรมเรเนสซองส์ จึงทรงขายบัตรไถ่บาป (indulgences) ในเยอรมนีเพื่อหาเงินโดยอ้างว่าใครซื้อบัตรนี้จะได้รับการไถ่บาป ซึ่งแน่นอนว่าได้รับการประท้วงจากทั้งชาวบ้านขุนนางและสงฆ์ทั้งหลาย '''การปฏิรูปศาสนา''' (The Reformation) จึงเริ่มใน [[ค.ศ. 1517]] เมื่อ [[มาร์ติน ลูเธอร์]] (Martin Luther) ตอกตะปูคำประท้วง 95 ข้อ (95 Theses) ไว้หน้าโบสถ์ในเมืองวิทเทินบวร์ควิทเทินแบร์ค (Wittenburg) ลูเธอร์ได้รับการสนับสนุนจากเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน จักรพรรดิชาร์ลส์และพระสันตะปาปาทรงเรียกประชุมสภาเมืองวอร์มส์ (Diet of Worms) บังคับให้ลูเธอร์ขอโทษพระสันตะปาปาและถอนคำประท้วงคืน แต่ลูเธอร์ไม่ยอม
 
[[นิกายลูเทอแรน]] (Lutheranism) จึงแผ่ขยายไปทั่วเยอรมนี เป็นนิกายแรกของโปรเตสแตนต์ เพราะบรรดาเจ้าครองแคว้นต่างต้องการพ้นจากอำนาจของจักรพรรดิจึงใช่ศาสนาเป็นเครื่องมือ เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งซัคเซินให้ลูเธอร์เก็บตัวอยู่ในปราสาทวาร์ตบูร์ก (Wartburg Castle) วาร์ทบวร์คเพื่อความปลอกภัยและที่นั่นเองลูเธอร์แปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาเยอรมันเป็นครั้งแรก
 
บรรดาชาวบ้านที่เข้านับถือนิกายลูเทอแรน จึงฉวยโอกาสก่อกบฏใน [[ค.ศ. 1524]] ต่อเจ้านครต่าง ๆ ในสงครามชาวบ้าน (Peasants' War) แต่เจ้าครองแคว้นก็ปราบปรามกบฏอย่างรวดเร็ว และขุนนางใหญ่คือเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งซัคเซินและลันท์กราฟแห่งเฮ็สเซิน (Landgrave of Hesse) ตั้งสันนิบาติชมาลคาดิค (Schmalkadic League) และชักชวนขุนนางอื่น ๆ เข้าร่วมอ้างว่าเพื่อปกป้องนิกายโปรเตสแตนต์ แต่ที่จริงเพื่อทำลายอำนาจของจักรพรรดิ จักรพรรดิชาร์ลส์ทรงง่วนอยู่กับสงครามต่างประเทศ ทำให้นิกายโปรเตสแตนต์สามารถแทรกซึมฝังรากลึกลงไปในเยอรมนี จนใน [[ค.ศ. 1546]] ก็ทรงว่างสามารถมาปราบกบฏขุนนางโปรเตสแตนต์ เป็นสงครามชมาลคาดิค (Schmalkadic War) และปราบได้ใน [[ค.ศ. 1547]] ใน [[ค.ศ. 1548]] ทรงทำสนธิสัญญาสันติภาพเอาคส์บวร์ค (Peace of Augsburg) ยอมรับนิกายลูเทอแรน (แต่ไม่ยอมรับนิกายอื่น) และใช้คนในรัฐนั้นนับถือศาสนาตามเจ้าครองแคว้น (''Cuius regio, eius regio'')
บรรทัด 80:
 
[[ไฟล์:Kurfürst Friedrich V. von der Pfalz als König von Böhmen.jpg|left|thumb|ฟรีดริช เจ้านครรัฐฟัลทซ์ กษัตริย์แห่งโบฮีเมีย "เหมันตกษัตริย์"]]
ใน [[ค.ศ. 1606]] บรรดาแคว้นที่เป็นคาลวินรู้สึกไม่ปลอดภัย จึงตั้งสันนิบาติสหภาพอิแวนเจลิคัล (League of Evangelical Union) นำโดยเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกฟรีดริช ฝ่ายคาทอลิกนำโดยดยุกแมกซิมิเลียนมัคซีมีลีอานแห่งบาวาเรีย (Maximilian, Duke of Bavaria) ตั้งสันนิบาตคาทอลิกใน [[ค.ศ. 1609]] [[จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ทรงเป็นคาทอลิกที่เคร่งครัดและต้องการจะทำลายล้างนิกายอื่นให้สิ้น พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์แห่งโบฮีเมียด้วย ซึ่งชาวโบฮีเมียก็ไม่พอใจจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิอยู่แล้วตั้งแต่สงครามฮุสไซต์ ใน [[ค.ศ. 1618]] ชาวโบฮีเมียจับผู้แทนพระองค์โยนออกนอกหน้าต่างของอาคารหลังหนึ่ง เรียกว่าการโยนบกที่กรุงปราก (Defenestration of Prague) สงครามสามสิบปี (Thirty Years' War) จึงเริ่ม
 
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ทรงเป็นกษัตริย์แห่งโบฮีเมียก่อนจะสวมมงกุฎราชาภิเษก กบฏโบฮีเมียจึงให้เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกชายฟรีดริชเป็นกษัตริย์แทนใน [[ค.ศ. 1619]] ทำให้ในบรรดาเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกมีพวกโปรแตสแตนต์มากกว่า อันตรายว่าพระเจ้าแฟร์ดีนันด์จะไม่ได้เป็นจักรพรรดิ จึงทรงรีบสวมมงกุฎราชาภิเษกก่อนที่บรรดาเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกจะทราบข่าวว่าเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกชายฟรีดริชเป็นกษัตริย์แห่งโบฮีเมียแทนที่พระองค์ เกิดกบฏของพวกโปรเตสแตนต์ลุกลามในโบฮีเมียและออสเตรีย สเปนส่งทัพมาช่วยเพราะหวังจะได้ยึดแคว้นพาลาติเนต จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์เอาชนะเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกชายฟรีดริชในการรบที่ไวท์เมาท์เทนภูเขาขาว (White Mountain) ใน [[ค.ศ. 1620]] ความพ่ายแพ้ของเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกชายทำให้สันนิบาติสหภาพอิแวนเจลิคัลล่มสลาย แคว้นพาลาติเนตถูกสเปนยึด เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกฟรีดริชหลบหนีไปเนเธอร์แลนด์ จักรพรรดิทรงออกพระราชกฤษฎีกายึดดินแดนคืน (Edict of Restitution) ใน [[ค.ศ. 1629]] เพื่อยึดดินแดนที่เคยเป็นคาทอลิกตามสนธิสัญญาสันติภาพเอาคส์บวร์คคืน
 
สงครามนี้ควรจะเป็นแค่กบฏของโบฮีเมียและพาลาติเนต แต่[[พระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์ก]] ทรงเป็นลูเธอรันและต้องการจะยึดเมืองต่าง ๆ ทางเหนือของเยอรมนีเพื่อจะคุมการค้าในทะเลนบอลติก จึงนำทัพบุกใน [[ค.ศ. 1625]] จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ส่งวาลเลนสไตน์ (Albretch von Wallenstein) และทิลลี (General Tilly) ไปปราบทัพเดนมาร์ก ยึดแคว้นโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ ได้ และบุกยึดเดนมาร์ก พระเจ้าคริสเตียนจึงยอมแพ้
บรรทัด 89:
[[พระเจ้ากุสตาฟที่ 2 แห่งสวีเดน|พระเจ้ากุสตาฟที่ 2 อดอล์ฟ]] (Gustaf II Adolf) แห่งสวีเดนทรงยกทัพมาช่วยพวกลูเธอรันใน [[ค.ศ. 1630]] ด้วยความช่วยเหลือของคาร์ดินัล ริเชอลิเออ (Cardinal Richelieu) แห่งฝรั่งเศสที่ต้องการโค่นอำนาจพระจักรพรรดิ พระเจ้ากุสตาฟทรงเอาชนะทิลลีได้ที่ไบร์เทนฟิลด์ (Breitenfield) ใน [[ค.ศ. 1631]] วาลเลนสไตน์มาสู้กับพระเจ้ากุสตาฟที่ลืตเซน (Lützen) ปลงพระชนม์พระเจ้ากุสตาฟใน [[ค.ศ. 1632]] จนนำไปสู่สนธิสัญญาปรากในค.ศ. 1635 เลื่อนการบังคับใช้พระราชกฤษฎีกายึดดินแดนคืนไปอีก 40 ปี เพื่อให้เจ้าครองโปรแตสแตนต์เตรียมตัว ซึ่งฝรั่งเศสไม่พอใจ เพราะจักรพรรดิทรงมีอำนาจมากขึ้น
 
ฝรั่งเศสจึงประกาศสงครามใน [[ค.ศ. 1636]] แต่ก็ถูกสเปนดักไว้ทุกทาง แต่ก็ยังเป็นโอกาสให้สวีเดนเอาชนะทัพพระจักรพรรดิจักรวรรดิได้ สวีเดนและฝรั่งเศสชนะออสเตรียที่เลนส์ (Lens) และสเปนที่โรครัว (Rocroi) นำไปสู่[[สนธิสัญญาสันติภาพเว็สท์ฟาเลิน]] (Peace of Westphalia) ในค.ศ. 1648
 
สนธิสัญญาสันติภาพเว็สท์ฟาเลินเป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ยุติสงครามศาสนาในยุโรป มีข้อตกลงหลายประการ ที่เกี่ยวกับเยอรมนีมีดังนี้
* ใช้หลัก ''Cuius regio, eius regio'' ตามสนธิสัญญาสันติภาพพเอาคส์บวร์ค เพิ่มนิกายคาลวินมาอีกหนึ่ง แต่คนที่ศาสนาไม่ตรงกับแคว้นจะประกอบพิธีกรรมได้ในที่ที่จัดหรือในบ้าน
* สวีเดนได้พอเมอเรเนียตะวันตก (Western Pomerania) เมืองบรีเมนและแวร์ดัง คุมปากแม่น้ำโอเดอร์และเอลเบ เดอร์และเอ็ลเบอ
* ดยุกแห่งบาวาเรียได้เป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกคนที่แปด
* แคว้นพาลาติเนตแบ่งเป็นพาลาติเนตบน (Upper Palatinate) ยกให้บาวาเรีย พาลาติเนตเหลือเพียงพาลาติเนตล่าง (Lower Palatinate) ยังคงเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกเหมือนเดิม
บรรทัด 109:
ใน [[ค.ศ. 1789]] [[ฝรั่งเศส]]เกิด[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] บรรดาชาติต่าง ๆ รวมตัวกันต่อต้านคณะปฏิวัติที่กำลังแผ่อิทธิพลออกมาจาก[[ฝรั่งเศส]] ใน [[ค.ศ. 1800]] ตามสนธิสัญญาลูเนวิลล์ (Luneville) ยกเยอรมนีส่วนตะวันตกของแม่น้ำไรน์ทั้งหมดให้ฝรั่งเศส ใน [[ค.ศ. 1804]] นโปเลียนปราบดาภิเษกตนเองเป็นจักรพรรดิ ทำให้ชาติต่างรวมตัวเป็นสัมพันธมิตรครั้งที่ 3 (Third Coalition) จนพ่ายแพ้นโปเลียนในการรบที่อุล์ม (Ulm) ใน [[ค.ศ. 1805]] ทำสนธิสัญญาเพรสบูร์ก (Pressburg) ล้มล้างจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์กลายเป็นจักรพรรดิออสเตรีย ขณะที่แว่นแคว้น ที่เหลือรวมตัวกันเป็น '''[[สมาพันธรัฐแห่งไรน์]]''' (Confederation of the Rhine) เป็นรัฐบริวารของนโปเลียน แว่นแคว้น ก็ได้เลื่อนขั้น เช่น ซัคเซิน บาวาเรีย เวือร์ทเทิมแบร์ค ได้เป็นอาณาจักร สมาพันธรัฐนำโดยสังฆราช (Primate) คือ คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์ค (Karl Theodore von Dalberg) รัฐต่าง ๆ ในสมาพันธรัฐจะต้องส่งทัพเข้าช่วยฝรั่งเศส โดยที่ฝรั่งเศสจะให้การปกป้องเป็นการตอนแทน
 
ปรัสเซียแพ้ฝรั่งเศสใน[[ยุทธการที่เยนา-นา–เอาเออร์ชเต็ท]] จนทำสนธิสัญญาทิลซิท (Tilsit) ในค.ศ. 1807 ปรัสเซียเสียทางตะวันออกของแม่น้ำเอลเบกลายเป็นแคว้นวอร์ซอว์ (Grand Duchy of Warsaw) และก่อตั้งราชอาณาจักรเว็สท์ฟาเลิน (Kingdom of Westphalia) ความพ่ายแพ้ของปรัสเซียทำให้เยอรมนีตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของฝรั่งเศส จนสุดท้ายสมาพันธรัฐประกอบด้วยสี่อาณาจักร (เว็สท์ฟาเลิน บาวาเรีย ซัคเซิน เวือร์ทเทิมแบร์ค) ห้าแกรนด์ดัชชี (บาเดิน เฮ็สเซิน แบร์ค แฟรงก์เฟิร์ต และเวือทซ์บวร์ค) สิบสามดัชชี สิบเจ็ดเจ้าชาย และนครรัฐอิสระสามนคร คือ[[ฮัมบวร์ค]] [[ลือเบค]] และ[[เบรเมนเบรเมิน]]
 
ใน ค.ศ. 1813 นโปเลียนพ่ายแพ้สัมพันธมิตรในการรบที่[[ไลพ์ซิช]] (Leipzig) อำนาจของฝรั่งเศสจึงจบลง สมาพันธรัฐแห่งไรน์จึงถูกยุบ บรรดาชาติต่าง ๆ ในยุโรป จึงฟื้นฟูระบอบราชาธิปไตยในยุโรป จึงตั้ง[[คองเกรสแห่งเวียนนา]] (Congress of Vienna) มาประชุมหารือ นำโดย[[เจ้าชายเมตเตอร์นิค]] (Metternich) อัครเสนาบดีออสเตรีย
บรรทัด 115:
== สมาพันธรัฐเยอรมัน ==
{{บทความหลัก|สมาพันธรัฐเยอรมัน}}
คองเกรสแห่งเวียนนาให้แว่นแคว้น ในจักรวรรดิโรมันเดิม รวมตัวกลายเป็น '''สมาพันธรัฐเยอรมัน''' (German Confederation) มีจักรพรรดิออสเตรียเป็นประมุข มีสภาสมาพันธรัฐ (Federal Assembly) ที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ตเป็นสภาหารือกิจการบ้านเมือง ทางปรัสเซียก็ได้รับการฟื้นฟูดินแดนคืน มีผลทำให้ออสเตรียและปรัสเซียเป็นสองมหาอำนาจที่แผ่อิทธิพลเข้าครอบงำเยอรมนี
 
แม้คองเกรสแห่งเวียนนาจะพยายามบีบให้ยุโรปกลับสู่ระบอบสมบูรณายาสิทธิราชย์สักเพียงใด แต่ก็สายไปแล้ว เพราะด้วยอิทธิพลของฝรั่งเศสและนโปเลียน ทำให้แนวความคิดเสรีนิยม (Liberalism) ฝังรากลงไปในเยอรมนี ใน [[ค.ศ. 1817]] พวกนักศึกษาหัวก้าวหน้าจัดงานเลี้ยงที่เมืองวาร์ตบูร์กเผาทำลายหนังสือที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์ ใน [[ค.ศ. 1819]] นักศึกษาคนหนึ่งสังหารอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเพราะตำหนิแนวความคิดเสรีนิยมและชาตินิยม (Nationalism) ของนักเรียน ทำให้เจ้าชายเมตเตอร์นิคทรงออกกฤษฎีกาคาร์ลสบาด (Karlsbad Decrees) ให้มีการเซนเซอร์หนังสือและควบคุมมหาวิทยาลัยมิให้แนวความคิดปฏิวัติแพร่ไป รวมทั้งลงโทษพวกเสรีนิยมด้วย แต่พวกเสรีนิยมก็เก็บความเคียดแค้นไว้ เกิดนักเขียนหลายท่านตามกระแสโรแมนติค (Romanticism) ที่มีผลงานปรัชญาต่อต้านระบอบกษัตริย์ เรียกว่า สมัยฟอร์ไมซ์ (Vormärz - สมัยก่อนเดือนมีนาคม)
บรรทัด 135:
== จักรวรรดิเยอรมันและสงครามโลกครั้งที่ 1 ==
{{บทความหลัก|จักรวรรดิเยอรมัน|สงครามโลกครั้งที่ 1}}
'''จักรวรรดิเยอรมัน''' (เยอรมัน: Deutsches Reich, หรืออย่างไม่เป็นทางการว่า Deutsches Kaiserreich ; อังกฤษ: German Empire) เป็นชื่อที่ใช้เรียกเพื่อหมายถึงรัฐเยอรมันในช่วงตั้งแต่การประกาศเป็นจักรพรรดิเยอรมันของวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย (18 มกราคม พ.ศ. 2414) ถึงการสละราชสมบัติของวิลเฮล์มที่ 2 (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461) รวมเวลา 47 ปี ในสมัยนี้เยอรมนีรุ่งเรืองมากทั้งด้านเศรษฐกิจ การทหาร และอื่น ๆ ถือว่าเป็นมหาอำนาจใหม่แห่งยุโรป มีอำนาจเทียบได้กับจักรวรรดิอังกฤษ แต่ช่วงหลังของจักรวรรดิเยอรมันได้มีปัญหากับบริเตนเรื่องการขยายอำนาจทางทะเล และ การสร้างจักรวรรดิอาณานิคมขึ้นมา จึงทำให้เกิดปัญหากับจักรวรรดิอังกฤษมหาอำนาจเดิม ปีค.ศ.1914 จักรวรรดิเยอรมนีรุ่งเรืองสุดขีด มีอาณานิคมทั่วโลก ทั้งในแอฟริกา อาทิ โตโก แคเมอรูน นามิเบีย และ แทนซาเนีย ส่วนในเอเชียก็มีบริเวณชิงเต่าของจีน และทางตอนเหนือของปาปัวนิวกินี รวมทั้งหมู่เกาะบางแห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกด้วย ต่อมาจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีมีปัญหากับเซอเบียจึงเกิดสงครามขึ้นโดย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีดึงจักรวรรดิเยอรมันเข้าร่วมสงครามในนามฝ่ายมหาอำนาจกลาง เป็นเหตุให้เยอรมันเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่1ช่วงต้นสงครามฝ่ายมหาอำนาจกลางได้เปรียบฝ่ายสัมพันธมิตรหลายอย่างทั้ง กลยุทธทางการสงคราม และความแข็งแกร่งของทหาร ระหว่างสงครามเยอรมันได้ประดิษฐ์ แก๊สพิษ ที่ทำให้ทหารฝรั่งเศสหายใจติดขัดและอาจถึงตายได้ แต่ระหว่างสงครามพระโอรสของพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 2 ได้ขอร้องพระบิดาให้ทำสนธิสัญญาสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตรแต่ไม่สำเร็จ ช่วงท้ายของสงครามหลังจากที่อเมริกาเข้าร่วมสงคราม เยอรมันก็เริ่มเสียเปรียบ พันธมิตรของเยอรมันทั้ง ออสเตรีย-ฮังการีก็ประกาศยอมแพ้ ส่วนบัลแกเรียและออตโตมันอ็อทโทมันแพ้สงครามให้กับสัมพันธมิตร ทำให้เยอรมนีต้องต่อสู้กับพันธมิตรอย่างโดดเดี่ยวและได้แพ้สงครามในค.ศ.1918 และได้เป็นจุดจบของจักรวรรดิเยอรมนี
 
== สาธารณรัฐไวมาร์ ==