ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตรัฐธรรมนูญออสเตรเลีย ค.ศ. 1975"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kelos omos1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kelos omos1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 198:
}}
 
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนก่อนเคอร์ เซอร์ พอล แฮสลัค เชื่อว่าสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดวิกฤตขึ้นคือการขาดความเชื่อใจและความไว้วางใจระหว่างวิทแลมและเคอร์วิทแลมกับเคอร์ และบทบาทที่เหมาะสมสมควรของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คือการให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำ และให้คำเตือน
 
==คำกล่าวหาว่ามีความเกี่ยวข้องกับซีไอเอ==
ระหว่างที่เกิดวิกฤต วิทแลมกล่าวหาว่าหัวหน้าพรรคชนบท ดัก แอนโธนี มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ[[สำนักข่าวกรองกลาง]]ของสหรัฐฯ หรือ (ซีไอเอ) ต่อมามีการกล่าวหาว่าเคอร์ทำตามคำสั่งของรัฐบาลสหรัฐฯ ที่ให้ปลดวิทแลม คำกล่าวหาที่มีมากอยู่ดาษดื่นที่สุดคือซีไอเอมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของเคอร์ ในปี 1966 เคอร์เข้าร่วมกลุ่มคอนเกรสฟอร์คัลเชอรัลฟรีดอม (Congress for Cultural Freedom) ซึ่งเป็นกลุ่มอนุรักษ์นิยมที่ได้รับเงินทุนสนับสนุนอย่างลับ ๆ จากซีไอเอ คริสโตเฟอร์ บอยซ์ ที่ต้องโทษข้อหาเป็นสายลับให้กับ[[สหภาพโซเวียต]] พูดกล่าวว่าซีไอเอ ต้องการเอาปลดวิทแลมออกจากตำแหน่งเพราะเขาเคยขู่ว่าจะปิดฐานทัพสหรัฐฯ ในออสเตรเลีย รวมถึงฐานทัพไพน์แก็ป บอยซ์เป็นลูกจ้างอายุ 22 ปี เป็นพนักงานในบริษัทผู้รับจ้างที่อยู่ในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของสหรัฐฯ ในขณะที่เกิดการเหตุการณ์ปลดนายกรัฐมนตรี เขาพูดว่าซีไอเอพูดถึงเรียกเคอร์ว่าเป็น "เคอร์คนของเรา" ตามที่โจนาธาน ควิทนีย์จากหนังสือพิมพ์[[เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล]] กล่าวว่าซีไอเอ "ออกค่าเดินทางให้กับเคอร์ สร้างสมบารมีให้ เคอร์ยังคงไปเอาเงินกับซีไอเอ" ในปี 1974 ทำเนียบขาวส่ง มาร์แชล กรีน มาเป็นเอกอัครราชฑูตสหรัฐอเมริกาประจำออสเตรเลีย ผู้เป็นที่รู้จักในฉายา "เจ้าแห่งการรัฐประหาร" เนื่องด้วยบทบาทสำคัญในการรัฐประหารปี 1965 เพื่อนโค่นล้มประธานาธิบดีอินโดนีเซีย [[ซูการ์โน]]
 
โจนาธาน ควิทนีย์จากหนังสือพิมพ์[[เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล]] กล่าวว่าซีไอเอ "ออกค่าเดินทางให้กับเคอร์ สร้างสมบารมีให้... เคอร์ยังคงไปหาซีไอเอเพื่อขอเงิน" ในปี 1974 ทำเนียบขาวส่ง มาร์แชล กรีน มาเป็นเอกอัครราชฑูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศออสเตรเลีย ผู้เป็นที่รู้จักในฉายา "เจ้าแห่งการรัฐประหาร" เพราะมีบทบาทสำคัญต่อการรัฐประหารในปี 1965 เพื่อโค่นล้มประธานาธิบดี[[ซูการ์โน]]แห่ง[[อินโดนีเซีย]]
วิทแลมเขียนในเวลาต่อมาว่า เคอร์ไม่จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากซีไอเอ อย่างไรก็ตาม เขายังกล่าวว่าในปี 1977 ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา วอร์เร็น คริสโตเฟอร์ เดินทางมาซิดนีย์เป็นการพิเศษ เพื่อพบกับเขา และบอกเขาว่า ในนามของประธานาธิบดีสหรัฐฯ [[จิมมี คาร์เตอร์]] เขาพร้อมที่จะร่วมงานกับรัฐบาลใด ๆ ก็ตามที่ประชาชนออสเตรเลียเลือกตั้งเข้ามา และสหรัฐฯ จะไม่แทรกแซงกระบวนการทางประชาธิปไตยของออสเตรเลียอีก เคอร์ปฏิเสธว่าตนเองเกี่ยวกับข้องซีไอเอ และไม่มีหลักฐานว่าเขาเกี่ยวข้อง ในบันทึกส่วนตัวของเขา อดีตอธิบดีองค์การข่าวกรองความมั่นคงออสเตรเลีย เซอร์เอ็ดเวิร์ด วูดเวิร์ด ปฏิเสธความคิดที่ว่าซีไอเอเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ผู้พิพากษาโรเบิร์ต โฮป ผู้อยู่ในคณะกรรมธิการสอบสวนหน่วยข่าวกรองออสเตรเลียถึงสองครั้ง พูดในปี 1998 ว่าเขาพยายามที่จะตามหาและสัมภาษณ์พยานที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ให้หลักฐานจากกล้องถ่ายภาพให้กับคณะกรรมาธิการเชิร์ช ในเรื่องของความเกี่ยวข้องของซีไอเอในการปลดนายกรัฐมนตรี แต่ไม่สามารถหาพยานหรือคำให้การได้ ในปี 2015 นักประวัติศาสตร์ชาวออสเตรเลีย ปีเตอร์ เอ็ดเวิร์ดส ปฏิเสธคำอ้างที่กล่าวหา ซึ่งเขาเรียกว่าเป็น "ทฤษฎีสมคบคิดที่อยู่มาอย่างยาวนาน"
 
วิทแลมเขียนในเวลาต่อมาว่า เคอร์ไม่จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนใด ๆ จากซีไอเอ อย่างไรก็ตาม เขาเคยกล่าวว่าในปี 1977 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา วอร์เร็น คริสโตเฟอร์ เดินทางมายังซิดนีย์เป็นการพิเศษเพื่อพบกับเขา ส่งสาส์นในนามประธานาธิบดีสหรัฐฯ [[จิมมี คาร์เตอร์]] ว่าเขาพร้อมที่จะร่วมงานกับรัฐบาลใด ๆ ก็ตามที่ประชาชนออสเตรเลียเป็นผู้เลือกเข้ามา และสหรัฐฯ จะไม่แทรกแซงกระบวนการทางประชาธิปไตยของออสเตรเลีย''อีกต่อไป'' เคอร์ปฏิเสธว่าตัวเองเกี่ยวข้องกับซีไอเอ และไม่มีหลักฐานใด ๆ ที่ระบุว่าเขาเกี่ยวข้องจากบันทึกส่วนตัวของเขา
จดหมายลับระหว่างเคอร์กับชาร์เทอริสที่ถูกเผยแพร่ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2020 เปิดเผยว่าเคอร์คิดว่าคำกล่าวหาว่าเขาเกี่ยวพันกับซีไอเอเป็น "เรื่องไร้สาระ" และเขายืนยันอย่างสม่ำเสมอถึง "ความจงรักภักดีเรื่อยมา" ต่อพระมหากษัตริย์
 
วิทแลมเขียนในเวลาต่อมาว่า เคอร์ไม่จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากซีไอเอ อย่างไรก็ตาม เขายังกล่าวว่าในปี 1977 อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าอำนวยการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา วอร์เร็น คริสโตเฟอร์ เดินทางมาซิดนีย์เป็นการพิเศษ เพื่อพบกับเขา และบอกเขาว่า ในนามของประธานาธิบดีสหรัฐฯ [[จิมมี คาร์เตอร์]] เขาพร้อมที่จะร่วมงานกับรัฐบาลใด ๆ ก็ตามที่ประชาชนออสเตรเลียเลือกตั้งเข้ามา และสหรัฐฯ จะไม่แทรกแซงกระบวนการทางประชาธิปไตยของออสเตรเลียอีก เคอร์ปฏิเสธว่าตนเองเกี่ยวกับข้องซีไอเอ และไม่มีหลักฐานว่าเขาเกี่ยวข้อง ในบันทึกส่วนตัวของเขา อดีตอธิบดีองค์การข่าวกรองความมั่นคงออสเตรเลีย (เอซิโอ) เซอร์ เอ็ดเวิร์ด วูดเวิร์ด ปฏิเสธความคิดที่ว่าซีไอเอเข้ามามีความเกี่ยวข้องด้วยกับเรื่องนี้ ผู้พิพากษาโรเบิร์ต โฮป ผู้ที่อยู่ในคณะกรรมธิการสอบสวนหน่วยข่าวกรองออสเตรเลียถึงสองครั้ง พูดในปี 1998 ว่าเขาพยายามที่จะตามหาและสัมภาษณ์พยานที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ให้หลักฐานจากกล้องถ่ายภาพให้กับคณะกรรมาธิการเชิร์ช ในเรื่องของว่าด้วยความเกี่ยวข้องของซีไอเอในกับการปลดนายกรัฐมนตรี แต่ไม่สามารถหาได้ทั้งพยานหรือและคำให้การได้ ในปี 2015 นักประวัติศาสตร์ชาวออสเตรเลีย ปีเตอร์ เอ็ดเวิร์ดส ปฏิเสธคำอ้างที่ข้อกล่าวหา ซึ่งโดยเขาเรียกสิ่งนี้ว่าเป็น "ทฤษฎีสมคบคิดที่อยู่มาอย่างยาวนาน"
 
จดหมายลับระหว่างเคอร์กับชาร์เทอริสที่ถูกเผยแพร่ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2020 เปิดเผยว่าเคอร์คิดว่าคำกล่าวหาที่ว่าเขาเกี่ยวพันกับซีไอเอเป็น "เรื่องไร้สาระ" และเขายืนยันอย่างสม่ำเสมอหนักแน่นถึง "ความจงรักภักดีเรื่อยตลอดมา" ที่มีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
 
==ความเกี่ยวข้องของวัง==
ทั้งวิทแลมและเคอร์ไม่เคยเสนอแนะชี้นำว่าวังได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องใด ๆ ในทางลับกับเรื่องนี้ ตามที่เจนนี ฮ็อกคิงฮอคกิง เล่านักเขียนชีวประวัติของวิทแลม อ้างถึงบันทึกของเคอร์จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติออสเตรเลียที่เปิดเผยว่าเขาเคยพูดคุยเรื่องอำนาจพิเศษสงวนที่เขามี และความเป็นไปได้ว่าที่เขาจะใช้มันเพื่อปลดรัฐบาลวิทแลมกับ[[เจ้าชายชาลส์]]ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1975 เคอร์ถามว่าจะเกิดอะไรขึ้นหากเขาปลดวิทแลม แล้วนายกรัฐมนตรีตอบโต้ด้วยการปลดเขา ตามที่เคอร์เขียนไว้จากคำบอกเล่าของเคอร์ เจ้าชายชาลส์ทรงตรัสว่าชาลส์ตรัสว่า "แน่นอนอยู่แล้ว เซอร์จอห์น พระราชินีไม่ควรรับถวายคำแนะนำให้เรียกตัวท่านกลับไปทุกครั้งที่ท่านพิจารณาว่าจะปลดรัฐบาล" เคอร์เขียนในสมุดบันทึกว่าเจ้าชายชาลส์ได้ทรงแจ้งให้ราชเลขาธิการในพระองค์ เซอร์ มาร์ติน ชาร์เทอริส ทราบถึงการสนทนานี้ ชาร์เทอริสจึงเขียนไปหาเคอร์เพื่ออธิบายว่า ในกรณีที่เกิดเหตุเช่นนั้นขึ้น "แม้ว่าพระราชินีคงจะทรงพยายามประวิงเวลาให้ แต่ท้ายที่สุดแล้วพระองค์ก็ทรงต้องรับคำแนะนำที่นายกรัฐมนตรีถวาย" บารอน เฮเซลไทน์ นักการเมืองอังกฤษผู้อยู่ฝั่งรัฐบาลในเวลานั้นได้ยืนยันในเรื่องนี้

หนึ่งในบรรดาเอกสารหลายฉบับที่ฮ็อคกิงอ้างอิงอ้างถึงจากบันทึกของเคอร์คือรายชื่อประเด็นสำคัญที่เคอร์เขียนไว้เป็นข้อ ๆ ในเรื่องเกี่ยวกับการปลดนายกรัฐมนตรี รวมถึงการสนทนากับเจ้าชายชาลส์และ "คำแนะนำของชาร์เทอริสเกี่ยวกับการปลดนายกรัฐมนตรี" พอล เคลลี ปฏิเสธคำกล่าวหาของฮ็อคกิงข้อมูลที่ฮ็อคกิงอ้างถึง เขาเขียนว่าการสนทนาในปี 1975 ไม่ได้ถูกเอ่ยถึงโดยเขียนไว้ในบันทึกส่วนตัวอื่น ๆ ของเคอร์ ซึ่งคงถ้ามีก็คงเป็นการบันทึกไว้ก่อนที่จะเกิดวิกฤตขึ้น และซึ่งคงจะเป็นเพียงการเปิดเผยความหวาดระแวงของเคอร์ที่มีต่อการถูกปลดโดยวิทแลมวิทแลมปลด เคลลีตั้งข้อสังเกตถึงคำบอกเล่าที่แสดงถึงความประหลาดใจจากในวังเมื่อทราบถึงการตัดสินใจของเคอร์
 
ตั้งแต่ปี 2012 ฮอคกิงเริ่มพยายามที่จะขอให้มีการปล่อยจดหมายโต้ตอบระหว่างที่ปรึกษาของพระราชินีกับเคอร์ในเรื่องการปลดนายกรัฐมนตรี ซึ่งหอจดหมายเหตุแห่งชาติเป็นผู้เก็บไว้อยู่ ในปี 2016 ฮ็อคกิงยื่นคำร้องต่อศาลกลาง เพื่อเรียกร้องให้หอจดหมายเหตุแห่งชาติทำการปล่อยจดหมายโต้ตอบระหว่างเคอร์ พระราชินี และชาร์เทอริส ที่เรียกว่า "จดหมายจากวัง" (palace letters) ที่หอจดหมายเหตุเก็บไว้อยู่แต่ไม่อนุญาตให้เห็น คำร้องตกไปในการพิจารณาแบบครบองค์คณะ คือเทียบเท่าชั้นอุทธรณ์ในระบบศาลของออสเตรเลีย แต่ในวันที่ 29 พฤษภาคม 2020 ฮ็อคกิงที่ยื่นคำร้องฎีกาต่อศาลสูง ก็ประสบความสำเร็จในที่สุด โดยศาลสูงมีคำตัดสิน 6 ต่อ 1 ให้ถือว่าจดหมายจากวังเป็น "เอกสารของเครือรัฐ" คือเป็นเอกสารสาธารณะที่บุคคลทั่วไปสามารถขอดูได้ตามบทบัญญัติที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติจดหมายเหตุ ค.ศ. 1983
 
ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 จดหมายทั้งหมดถูกปล่อยทางออนไลน์โดยไม่มีการปกปิดใด ๆ ข้อความในจดหมายเหล่านี้เปิดเผยว่า ถึงแม้ว่าเคอร์จะเคยเขียนจดหมายโต้ตอบกับชาร์เทอริสในเรื่องของอำนาจทางรัฐธรรมนูญที่เขามีในการปลดวิทแลม แต่เขาไม่เคยทูลแจ้งให้พระราชินีทราบล่วงหน้าเกี่ยวกับการตัดสินใจที่จะปลดวิทแลม แต่จดหมายก็เปิดเผยเช่นกันว่าเคอร์เคยเอ่ยถึงความเป็นไปได้ที่จะปลดวิทแลมมาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1975 คือประมาณ 2-3 เดือนก่อนที่จะเกิดวิกฤต นอกจากนี้ ในวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1975 มาร์ติน ชาร์เทอริสยังยืนยันในจดหมายว่าเคอร์ได้พูดคุยกับเจ้าชายชาลส์ในเรื่องความเป็นไปได้ที่วิทแลมจะทูลเกล้าฯ ขอให้พระราชินีมีพระบรมราชโองการปลดเคอร์ให้พ้นจากตำแหน่ง
 
==อ้างอิง==