ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทองอยู่ เอี่ยมบุญอิ่ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Legendarymos (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มความสมบูรณ์ของการอ้างอิงให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ และแก้ไขข้อมูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์
Legendarymos (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเอกสารอ้างอิง 3
บรรทัด 16:
| signature =
}}
'''ทองอยู่ เอี่ยมบุญอิ่ม''' เป็นนักการเมืองชาวไทย เคยดำรงตำแหน่ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี |สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี]] [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3|ชุดที่ 3]] (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) และ [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4|ชุดที่ 4]] (6 มกราคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490)<ref>ประเสิรฐ สิทธิจิรพัฒน์, "นักการเมืองถิ่นจังหวัดนนทบุรี", สถาบันพระปกเกล้า, ชุดสำรวจเพื่อนประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น, ธันวาคม 2553, เข้าถึงได้เมื่อ 4 ตุลาคม 2563[https://issuu.com/kpird/docs/_____________________._______]</ref> โดยในสมัยที่ 2 นั้นเกิดเหตุการณ์รัฐประหารครั้งแรกโดย [[ผิน ชุณหะวัณ |พลโทผิน ชุณหะวัณ]] (ยศในขณะนั้น) มีผลทำให้สภาผู้แทนราษฏร์ชุดที่ 4 หมดวาระลง<ref>ประเสิรฐ สิทธิจิรพัฒน์, "เส้นทางเข้าสู่การเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร์จังหวัดนนทบุรี", วารสารวิชาการสมาคมอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย, ฉบับที่ 1, พฤษภาคม, 2555[http://dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6343/1/55%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%9A.pdf] </ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 23:
 
== การปฏิบัติหน้าที่ในสภาผู้แทนราษฏร ==
เนื่องจาก ทองอยู่ เอี่ยมบุญอิ่ม เคยบวชเป็นพระในพุทธศาสนามาก่อนจึงมีความเข้าใจในประเด็นเกี่ยวกับทางพุทธศาสนา และมีส่วนในการได้ยื่นกระทู้ถามรัฐบาลในปีการประชุมสภาผู้แทนราษฎรสมัยสามัญ ครั้งที่ 14/2483 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน พ.ศ.2483<ref>รัฐสภา,"รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรโดยย่อ ครั้งที่ 14/2483 (สามัญ) สมัยที่ 2 ชุดที่ 3 วันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน พุทธศักราช 2483 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เริ่มประชุมเวลา 14.10 นาฬิกา", เข้าถึงได้เมื่อ 5 ตุลาคม 2563[https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/212056]</ref> เกี่ยวกับ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ ที่มีความล่าช้าว่า "รัฐบาลนี้ได้จัดการแก้ไขร่างพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ไปแล้วเพียงใด เมื่อไรจะสำเร็จเข้ามาในสภานี้ได้" เนื่องจากเหตุผลของรัฐบาลก็คือ อยู่ในกระบวนการปรับแก้ไขกับคณะสงฆ์ ขณะที่สาเหตุเบื้องหลังนั้นมาจากความละเอียดอ่อนของปัญหาในคณะสงฆ์ที่รัฐบาลไม่กล้าตัดสินใจ โดยเฉพาะเมื่อมีนักการเมืองตัวแทนจากทั้งมหานิกาย คือ [[หลวงวิจิตรวาทการ]] อดีตมหาเปรียญ 5 ประโยค สำนัก[[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร |วัดมหาธาตุ]] ขณะที่ฝ่ายธรรมยุต คือ [[ทองสืบ ศุภะมาร์ค]] อดีตมหาเปรียญ 9 ประโยค [[วัดมกุฏกษัตริยาราม]] ทั้งคู่จึงออกแรงปกป้องผลประโยชน์ให้กับฝ่ายของตนอย่างเต็มที่ จนในท้ายที่สุด พ.ร.บ.ได้เข้าสู่ระเบียบวาระการประชุมในสภาผู้แทนราษฎรอีกครั้งในปี พ.ศ. 2484 เมื่อเดือนกันยายน และประกาศใช้ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2484 ใน วันที่ 14 ตุลาคม 2484 เป็นต้นมา<ref>ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์, "70 ปี พ.ร.บ.คณะสงฆ์ 2484 อ่านกฎหมายเก่านั่งคุยกับคณะนิติราษฎร์ (1)", ประชาไท, เข้าถึงได้เมื่อ 4 ตุลาคม 2563[https://prachatai.com/journal/2011/10/37394]</ref><ref>พระมหาวรชัย กลึงโพธิ์, "การปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2484", น.105-109, กรุงเทพมหานคร, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539[http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44023]</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==