ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็นแอลพี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:Q202745
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 33:
บรรดาวิธีอื่น{{nbsp}}ๆ ที่เป็นหลักได้มาจากผลงานของนักครอบครัวบำบัดชาวอเมริกันเวอร์จิเนีย แซเทียร์ (Virginia Satir), จิตแพทย์นักสะกดจิตและนักครอบครัวบำบัดชาวอเมริกันมิลตัน เอริกสัน (Milton Erickson) และจิตแพทย์นักจิตบำบัดชาวเยอรมันฟริตซ์ เพอร์ลส (Fritz Perls)<ref name="Bandler & Grinder 1979 page 8">{{cite book | last1 = Bandler | first1 = Richard | last2 = Grinder | first2 = John | editor1-last = Andreas | editor1-first = Steve | title = Frogs into Princes: Neuro Linguistic Programming | url = https://archive.org/details/frogsintoprinces00band_0 | year = 1979 | publisher = Real People Press | isbn = 978-0-911226-19-5 | page = [https://archive.org/details/frogsintoprinces00band_0/page/8 8]}}</ref>
 
แบนด์เลอร์กับกรินเดอร์ยังใช้[[ทฤษฎี]]ของนัก[[มานุษยวิทยา]]ชาวอังกฤษเกร็กอรี เบตสัน (Gregory Bateson), นัก[[อรรถศาสตร์]]ชายโปแลนด์-อเมริกัน Alfred Korzybski และนัก[[ภาษาศาสตร์]][[โนม ชอมสกี]] (โดยเฉพาะทฤษฎี transformational grammar ที่เริ่มมาจากไอเดียของชอมสกี)<ref name="b&g-p6" /><ref name="Stollznow 2010" /><ref name="Wake 2001">{{cite book | last = Wake | first = Lisa | title = Neurolinguistic psychotherapy : a postmodern perspective | year = 2001 | publisher = Routledge | location = London | isbn = 978-0-415-42541-4 | url = https://books.google.com/books?id=8wIy20m_u9kC}}</ref>
ตลอดจนไอเดียและเทคนิคของนักมานุษยวิทยาชาวอเมริกันคาร์โลส แคสทาเนดา (Carlos Castaneda)<ref name="McClendon 1989">{{cite book | last1 = McClendon | first1 = Terrence L. | title = The Wild Days. NLP 1972-1981 | edition = 1st | year = 1989 | isbn = 978-0-916990-23-7 | page = 41 | quote = In association with Milton's work, Richard and John also came across Castaneda's books, ''The Teachings of don Juan'', ''The Yaqui Way of Life'', ''A Separate Reality'' and ''Tales of Power''. From there it was an integration of don Juan's use of metaphor and hypnosis and Milton Erickson's language patterns and metaphor to induce an altered state of consciousness to create deep trance phenomena. One of the most dynamic techniques which evolved out of the hypnosis programs was the use of the double induction. The double induction is a trance induction carried out by two people. One person speaks into one ear using complex words and language patterns to occupy one brain hemisphere and the other person speaks into the other ear using childlike grammar and language to occupy the other brain hemisphere. The feeling sensations are experienced in the same half of the body as the auditory input. This technique was used in conversations that Carlos Castaneda had with don Juan and don Genaro. This technique was used frequently during the summing up of Richard and John's training programs as a forum for review, post hypnotic suggestions for future applications and learnings}}</ref>
 
แบนด์เลอร์กับกรินเดอร์อ้างว่า วิธีนี้สามารถ''จัดระเบียบ'' (codify) โครงสร้างวิธีการบำบัดของเพอร์ลส แซเทียร์ และเอริกสัน และจริง{{nbsp}}ๆ สามารถจัดระเบียบโครงสร้างกิจกรรมซับซ้อนของมนุษย์ทุกอย่าง เมื่อได้จัดระเบียบแล้ว บุคคลอื่นก็จะสามารถเรียนรู้โครงสร้างและกิจกรรมเหล่านั้นได้
หนังสือปี{{nbsp}}1975 ของพวกเขาคือ ''The Structure of Magic I: A Book about Language and Therapy'' (โครงสร้างแมจิก 1 - หนังสือเกี่ยวกับภาษาและการบำบัด) มุ่งหมาย''จัดระเบียบ''เทคนิคบำบัดของเพอร์ลสและแซเทียร์<ref name="b&g-p6" />
 
แบนด์เลอร์กับกรินเดอร์กล่าวว่า ได้ใช้วิธี''การจำลองแบบ'' (modeling) ของตนเพื่อจำลองรูปแบบของเวอร์จิเนีย แซเทียร์ แล้วสร้างสิ่งที่เขาเรียกว่า ''เมตะโมเดล'' (Meta-Model) เป็นรูปแบบเพื่อใช้รวบรวมข้อมูลแล้วท้าทายการใช้ภาษาและกระบวนการความคิดของผู้รับฝึก<ref name="b&g-p6" /><ref name="Clancy and Yorkshire 1989" />
บรรทัด 50:
เช่น ชอมสกีไม่มีส่วนร่วมกับเอ็นแอลพีโดยสิ้นเชิง
งานดั้งเดิมของชอมสกีก็มุ่งแสดงทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ ไม่ใช่การบำบัด
สโตลส์นาวได้เขียนในวารสาร ''Skeptic'' (นักวิมตินิยม) ปี 2010 ไว้ว่า "นอกเหนือการยืมใช้คำ เอ็นแอลพีไม่มีความคล้ายคลึงกันที่น่าเชื่อถือกับ[[ทฤษฎี]]หรือ[[ปรัชญา]]ของชอมสกี ไม่ว่าจะเป็นทาง[[ภาษาศาสตรร์ภาษาศาสตร์|ภาษา]] ทาง[[ประชาน]] หรือทาง[[การเมือง]]"<ref name="Stollznow 2010">{{cite journal | last1 = Stollznow | first1 = Karen | year = 2010 | title = Not-so Linguistic Programming | journal = Skeptic | volume = 15 | issue = 4 | page = 7 | url = http://www.skeptic.com/magazine/archives/vol15n04.html | accessdate = 2013-06-01}}</ref>
 
ตามผู้เชี่ยวชาญเรื่องสะกดจิตชาวฝรั่งเศส-อเมริกันแอนเดร มิวล์เลอร์ ไวเซ็นฮ็อฟเฟอร์ (André Muller Weitzenhoffer)<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua | name = Weitzenhoffer |
'''แอนเดร มิวล์เลอร์ ไวเซ็นฮ็อฟเฟอร์''' (André Muller Weitzenhoffer, 16 มกราคม 1921 - 24 กุมภาพันธ์ 2004) เป็นนักวิจัยที่ให้ผลงานมากที่สุดคนหนึ่งในสาขา[[การสะกดจิต]]ในครึ่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ {{nbsp}}20 โดยตีพิมพ์ผลงานเกินกว่า 100{{nbsp}}งานในระหว่าง{{nowrap |ปี 1949-2004}}<ref>{{cite web | last1 = | first1 = | authors = | date = | title = IN MEMORIAM: André M. Weitzenhoffer | url = http://asociatiaromanadehipnoza.ro/wp-content/uploads/2013/11/IN-MEMORIAM-Andr%C3%A9-M.-Weitzenhoffer.pdf | archiveurl = | archivedate = | deadurl = | publisher = | accessdate = }}</ref>
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
"จุดอ่อนหลักของการวิเคราะห์ภาษาของแบนด์เลอร์กับกรินเดอร์ ก็คือโดยมากมันอาศัย[[สมมติฐาน]]ที่ไม่ได้ตรวจสอบและสนับสนุนด้วยข้อมูลที่ไม่พอเพียงโดยสิ้นเชิง"<ref>{{cite book | last1 = Muller Weitzenhoffer | first1 = André | title = The Practice of Hypnotism Volume 2: Applications of Traditional an Semi-Traditional Hypnotism. Non-Traditional Hypnotism | edition = 1st | year = 1989 | publisher = John Wiley & Sons, Inc. | location = New York | isbn = 978-0-471-62168-3 | chapter = Chapter 8 Ericksonian Hypnotism: The Bandler/Grinder Interpretation | page = 304 | chapter-url = https://books.google.com/books?id=RPHaAAAAMAAJ}}</ref>
ไวเซ็นฮ็อฟเฟอร์เขายังเพิ่มด้วยว่า แบนด์เลอร์กับกรินเดอร์ใช้หลักการของตรรกศาสตร์รูปนัย (formal logic) และของ[[คณิตศาสตร์]]อย่างผิด{{nbsp}}ๆ<ref>{{cite book | last1 = Muller Weitzenhoffer | first1 = André | title = The Practice of Hypnotism Volume 2: Applications of Traditional an Semi-Traditional Hypnotism. Non-Traditional Hypnotism | edition = 1st | year = 1989 | publisher = John Wiley & Sons, Inc. | location = New York | isbn = 978-0-471-62168-3 | chapter = Chapter 8 Ericksonian Hypnotism: The Bandler/Grinder Interpretation | pages = 300-1 | chapter-url = https://books.google.com/books?id=RPHaAAAAMAAJ}}</ref>,
เปลี่ยนนิยามหรือเข้าใจผิดซึ่งคำที่มาจากคลังศัพท์ของภาษาศาสตร์ (เช่น nominalization)<ref>{{cite book | last1 = Muller Weitzenhoffer | first1 = André | title = The Practice of Hypnotism Volume 2: Applications of Traditional an Semi-Traditional Hypnotism. Non-Traditional Hypnotism | edition = 1st | year = 1989 | publisher = John Wiley & Sons, Inc. | location = New York | isbn = 978-0-471-62168-3 | chapter = Chapter 8 Ericksonian Hypnotism: The Bandler/Grinder Interpretation | pages = 304-5 | quote = "I have chosen nominalization to explain what some of the problems are in Bandler and Grinder's linguistic approach to Ericksonian hypnotism. Almost any other linguistic concept used by these authors could have served equally well for the purpose of showing some of the inherent weaknesses in their treatment." | chapter-url = https://books.google.com/books?id=RPHaAAAAMAAJ}}</ref>,
แต่งหน้าเป็นวิทยาศาสตร์โดยทำแนวคิดของเอริกสันให้ซับซ้อนอย่างไม่จำเป็นด้วยข้ออ้างที่ไม่มีหลักฐาน<ref>{{cite book | last1 = Muller Weitzenhoffer | first1 = André | title = The Practice of Hypnotism Volume 2: Applications of Traditional an Semi-Traditional Hypnotism. Non-Traditional Hypnotism | edition = 1st | year = 1989 | publisher = John Wiley & Sons, Inc. | location = New York | isbn = 978-0-471-62168-3 | chapter = Chapter 8 Ericksonian Hypnotism: The Bandler/Grinder Interpretation | page = 307 | quote = As I have mentioned in the last chapter, any references made to left and right brain functions in relation to hypnotic phenomena must be considered as poorly founded. They do not add to our understanding of nor our ability to utilize hypnotic phenomena in the style of Erickson. Indeed, references such as Bandler and Grinder make to these functions give their subject matter a false appearance of having a more scientific status than it has. | chapter-url = https://books.google.com/books?id=RPHaAAAAMAAJ}}</ref>,
บรรทัด 68:
 
ในเรื่องพัฒนาการของเอ็นแอลพี กรินเดอร์ระลึกถึงว่า<ref>{{cite web | last = Grinder | first = John | others = Interviewed by Chris Collingwood and Jules Collingwood | title = 1996 Interview with John Grinder PhD, co-creator of NLP | website = Inspiritive | publisher = Inspiritive | url = http://www.inspiritive.com.au/grinterv.htm | date = July 1996 | accessdate = 2013-08-08 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20130428225949/http://www.inspiritive.com.au/grinterv.htm | archivedate = 2013-04-28}}</ref>
{{quote | text = สิ่งที่ผมจำได้เกี่ยวกับสิ่งที่เราคิดเมื่อได้ค้นพบ (เกี่ยวกับการจัดระเบียบ {{bracket |code}} คลาสสิกที่เราได้พัฒนาขึ้น ซึ่งเกิดในระหว่าง{{nowrap |ปี 1973-1978}}) ก็คือเรารู้อย่างชัดเจนว่า เรากำลังพยายามล้มล้างแบบแผน (paradigm) อย่างหนึ่ง และตัวผมเองก็พบว่ามันมีประโยชน์ที่จะวางแผนการรณรงค์นี้ส่วนหนึ่งโดยใช้ผลงานชิ้นเยี่ยมของโทมัส คูน (''The Structure of Scientific Revolutions'') เป็นแนวทาง ที่เขาได้ให้รายละเอียดปัจจัยบางอย่างที่เกิดในช่วงการเปลี่ยนแบบแผนที่สำคัญ (paradigm shift) เช่น ผมเชื่อว่ามันมีประโยชน์มากที่เราทั้งสองคนไม่มีคุณวุฒิในสาขาที่เราพยายามเปลี่ยน คือ[[จิตวิทยา]] โดยเฉพาะการประยุกต์ใช้ในการบำบัด ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่คูนระบุในงานศึกษาการเปลี่ยนแบบแผนที่สำคัญอิงประวัติศาสตร์}}
ยกตัวอย่างเช่น ผมเชื่อว่ามันมีประโยชน์มากที่เราทั้งสองคนไม่มีคุณวุฒิในสาขาที่เราพยายามเปลี่ยน คือ[[จิตวิทยา]] โดยเฉพาะการประยุกต์ใช้ในการบำบัด
ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่คูนระบุในงานศึกษาการเปลี่ยนแบบแผนที่สำคัญอิงประวัติศาสตร์}}
 
นักปรัชญาชาวอเมริกันผู้มีวิมตินิยมรอเบิร์ต ท็อดด์ แคร์โรลได้แก้ว่า กรินเดอร์ไม่เข้าใจหนังสือของคูนในเรื่องประวัติและหลักปรัชญาของวิทยาศาศาสตร์วิทยาศาสตร์ คือ ''The Structure of Scientific Revolutions''
คือแก้ว่า (1) นักวิทยาศาสตร์เดี่ยว{{nbsp}}ๆ ไม่เคยและไม่มีทางก่อ "การเปลี่ยนแบบแผนที่สำคัญ" (paradigm shift) อย่างตั้งใจ และคูนก็ไม่ได้แสดงนัยอะไรเหนือจากนี้
(2) หนังสือของคูณไม่ได้มีไอเดียว่า การไร้คุณวุฒิในสาขาวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องมีก่อนเพื่อให้ได้ผลที่ก่อ "การเปลี่ยนแบบแผนที่สำคัญ" อย่างเลี่ยงไม่ได้ในสาขานั้น{{nbsp}}ๆ
เส้น 78 ⟶ 76:
แคร์โรลอธิบายว่า การเปลี่ยนแบบแผนที่สำคัญไม่ใช่กิจกรรมที่วางแผน แต่เป็นผลลัพธ์ของงานทางวิทยาศาสตร์ในแบบแผนปัจจุบัน (ที่เป็นหลัก) แล้วสร้างข้อมูลที่แบบแผนปัจจุบันไม่สามารถอธิบายได้ดีพอ ดังนั้น จึงเกิด "การเปลี่ยนแบบแผนที่สำคัญ" คือการยอมรับแบบแผนใหม่
 
เมื่อพัฒนาเอ็นแอลพี แบนด์เลอร์กับกรินเดอร์ไม่ได้ทำตอบสนองต่อปัญหาวิกฤติทางแบบแผนของจิตวิทยา และก็ไม่ได้สร้างข้อมูลที่สร้างปัญหาวิกฤติ
ไม่มีเหตุผลว่าพวกเขาเป็นเหตุหรือมีส่วนร่วมก่อการเปลี่ยนแบบแผนที่สำคัญ
แคร์โรลแย้งว่า "กรินเดอร์กับแบนด์เลอร์ได้ทำอะไรที่ทำให้ดำเนินการทางจิตวิทยาต่อไปไม่ได้โดยไม่ใช้แนวความคิดของพวกเขาหรือไม่ ? ไม่ได้ทำอะไรเลย"<ref name="skepdic">{{cite web | author = Carroll, RT | publisher = The Skeptic's Dictionary | url = http://skepdic.com/neurolin.html | title = neuro-linguistic programming (NLP) | accessdate = 2009-06-25 | date = 2009-02-23}}</ref>
เส้น 89 ⟶ 87:
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
ศูนย์หลักของขบวนการนี้ก็คือสถาบันเอซาเล็น (Esalen Institute) ในเมืองบิ๊กเซอร์ [[รัฐแคลิฟอร์เนีย]]
เพอร์ลสได้ทำสัมมนาเกี่ยวกับ Gestalt therapy เป็นจำนวนมากที่สถาบัน
แซเทียร์เป็นผู้นำตั้งแต่ยุคต้น{{nbsp}}ๆ และเบตสันเป็นครูพิเศษ
แบนด์เลอร์กับกรินเดอร์อ้างว่า นอกจากเป็นวิธีบำบัด เอ็นแอลพียังเป็นการศึกษาการสื่อสาร แล้วเริ่มวางตลาดมันเป็นเครื่องมือทางธุรกิจ โดยอ้างว่า "ถ้ามนุษย์แต่ละคนทำอะไรก็ได้ คุณก็ทำได้เช่นกัน"<ref name="Clancy and Yorkshire 1989">{{cite journal | last2 = Yorkshire | first2 = Heidi | title = The Bandler Method | journal = Mother Jones Magazine | year = 1989 | volume = 14 | issue = 2 | page = 26 | url = http://www.american-buddha.com/bandler.method.htmlpg=PA26 | accessdate = 2013-05-24 | last1 = Clancy | first1 = Frank | issn = 0362-8841 }}{{Dead link | date = April 2020 | bot = InternetArchiveBot | fix-attempted = yes }}</ref>
หลังจากเริ่มได้นักเรียน 150{{nbsp}}คนที่จ่ายค่าธรรมเนียมคนละ {{nowrap |1,000 [[ดอลลาร์สหรัฐ]]}} สำหรับการสัมมนา 10{{nbsp}}วันในเมืองซานตาครูซ รัฐแคลิฟอร์เนีย พวกเขาก็เลิกทำงานเขียนเชิงวิชาการแล้วเขียนหนังสือประชานิยมอาศัยข้อความจากงานสัมมนา เช่น หนังสือ ''Frogs into Princes'' (จากกบไปสู่เจ้าชาย) ซึ่งขายได้เกิน {{nowrap |270,000 เล่ม}}
ตาม[[เอกสาร]]ของ[[ศาล]]เรื่องข้อพิพาททาง[[ทรัพย์สินทางปัญญา]]ระหว่างแบนด์เลอร์กับกรินเดอร์ แบนด์เลอร์ได้รายได้เกินกว่า {{nowrap |800,000 [[ดอลลาร์สหรัฐ]]ฺ}} (ประมาณ {{nowrap |20 ล้านบาท}}) ในปี{{nbsp}}1980 จากการจัดสัมมนาและขายหนังสือ<ref name="Clancy and Yorkshire 1989" />
 
เส้น 104 ⟶ 102:
 
== องค์ประกอบและแนวคิดหลัก{{nbsp}}ๆ ==
เอ็นแอลพีสามารถเข้าใจว่ามีองค์ประกบอกว้างประกอบกว้าง{{nbsp}}ๆ 3{{nbsp}}อย่างและแนวคิดหลัก{{nbsp}}ๆ เกี่ยวกับองค์ประกอบเหล่านั้น
*'''''ความเป็นอัตวิสัย''''' (Subjectivity) ตามแบนด์เลอร์กับกรินเดอร์
**เรารู้โลกโดยเป็น[[อัตวิสัย]] เราจึงสร้างแบบจำลองประสบการณ์ของเราอันเป็นอัตวิสัย แบบจำลองเช่นนี้มีองค์ประกอบเป็น[[ประสาทสัมผัส]]ทั้ง{{nbsp}}5 และ[[ภาษาธรรมชาติ|ภาษา]] ซึ่งก็คือ [[ควอเลีย|ประสบการณ์ทางจิตอันเป็นอัตวิสัย]]อันประกอบด้วย[[ประสาทสัมผัส]]ที่รู้กันทั่วไปคือ [[การเห็น]] [[การได้ยิน]] [[สัมผัส]] [[การได้กลิ่น]] และ[[การรู้รส]] จนกระทั่งว่า กิจกรรมต่าง{{nbsp}}ๆ ในชีวิตของเรา เช่น การคิดถึงกิจกรรมหนึ่งในใจ การระลึกถึงเหตุการณ์หนึ่ง หรือการคาดหวังเหตุการณ์ล่วงหน้า เราก็จะ "เห็น"ภาพ "ได้ยิน"เสียง "รู้"กลิ่น "ลิ้ม"รส "กระทบ"สัมผัส และคิดเป็นภาษา (ธรรมชาติ) บางภาษา<ref>
เส้น 121 ⟶ 119:
{{cite book | last1 = Dilts | first1 = Robert | last2 = Grinder | first2 = John | last3 = Bandler | first3 = Richard | last4 = Bandler | first4 = Leslie C. | last5 = DeLozier | first5 = Judith | title = Neuro-Linguistic Programming: Volume I The Study of the Structure of Subjective Experience | edition = Limited | year = 1980 | publisher = Meta Publications | location = California | isbn = 978-0-916990-07-7 | page = 7 | quote = NLP presents specific tools which can be applied effectively in any human interaction. It offers specific techniques by which a practitioner may usefully organize and re-organize his or her subjective experience or the experiences of a client in order to define and subsequently secure any behavioural outcome. | url = https://books.google.com/books?id=CwsRAQAAIAAJ}}</ref>
*'''''จิตใจ''''' (consciousness) เอ็นแอลพีมีมูลฐานที่ไอเดียว่า จิตใจแยกออกเป็นส่วนใต้ความสำนึก (คือรู้ได้) และส่วนเหนือความสำนึก (คือรู้ไม่ได้) แบบจำลองทางอัตวิสัยที่เกิดเหนือสำนึกของบุคคลจึงมีองค์ประกอบเป็น จิตเหนือสำนึก/จิตไร้สำนึก (unconscious mind)<ref>{{cite book | last1 = Dilts | first1 = Robert | last2 = Grinder | first2 = John | last3 = Bandler | first3 = Richard | last4 = Bandler | first4 = Leslie C. | last5 = DeLozier | first5 = Judith | title = Neuro-Linguistic Programming: Volume I The Study of the Structure of Subjective Experience | edition = Limited | year = 1980 | publisher = Meta Publications | location = California | isbn = 978-0-916990-07-7 | pages = 77-80 | quote = Strategies and representations which typically occur below an individual's level of awareness make up what is often called or referred to as the "unconscious mind." | url = https://books.google.com/books?id=CwsRAQAAIAAJ}}</ref>
*'''''การเรียนรู้''''' เอ็นแอลพีใช้การเลียนแบบเพื่อเรียนรู้ เรียกว่า การจำลองแบบ/การเลียนแบบ (modeling) ซึ่งอ้างว่าสามารถ''จัดระเบียบ''และเลียนความเชี่ยวชาญของบุคคลตัวอย่างในกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ ส่วนสำคัญในกระบวนการจัดระเบียบก็คือการแสดงลำดับประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและภาษาที่เกิดในบุคคลตัวอย่างเมื่อทำกิจกรรมนั้น{{nbsp}}ๆ อย่างเชี่ยวชาญ<ref>
{{cite book | last1 = Bandler | first1 = Richard | last2 = Grinder | first2 = John | editor1-last = Andreas | editor1-first = Steve | title = Frogs into Princes: Neuro Linguistic Programming | edition = 1st | year = 1979 | publisher = Real People Press | location = Utah | isbn = 978-0-911226-19-5 | pages = [https://archive.org/details/frogsintoprinces00band_0/page/7 7], 9,10,36,123 | url = https://archive.org/details/frogsintoprinces00band_0 }}</ref><ref name="b&g-p6" /><ref>
{{cite book | last1 = Dilts | first1 = Robert | last2 = Grinder | first2 = John | last3 = Bandler | first3 = Richard | last4 = Bandler | first4 = Leslie C. | last5 = DeLozier | first5 = Judith | title = Neuro-Linguistic Programming: Volume I The Study of the Structure of Subjective Experience | edition = Limited | year = 1980 | publisher = Meta Publications | location = California | isbn = 978-0-916990-07-7 | pages = 35, 78 | url = https://books.google.com/books?id=CwsRAQAAIAAJ}}</ref><ref>
เส้น 144 ⟶ 142:
 
ตามสโตลส์นาว (2010) เอ็นแอลพียังมีการวิเคราะห์การพูดที่ไม่ได้รับการยอมรับ มีแนวทาง "การปฏิบัติ" ให้สื่อสาร "ได้ดียิ่งขึ้น"
ยกตัวอย่าง เช่น หนังสือเล่มหนึ่งอ้างว่า "เมื่อคุณใช้คำว่า 'แต่' คนจะจำสิ่งที่คุณพูดต่อจากคำนั้น
ถ้าใช้คำว่า 'และ' คนจะจำสิ่งที่พูดทั้งก่อนและหลังคำนั้น"<ref name="Stollznow 2010" />
 
เส้น 155 ⟶ 153:
=== จิตบำบัด ===
หนังสือยุคต้น{{nbsp}}ๆ เกี่ยวกับเอ็นแอลพีเล็งไปในเรื่องจิตบำบัดเพราะผู้ที่เป็นแบบจำลอง (model) ยุคต้น{{nbsp}}ๆ เป็นนักจิตบำบัด
ถ้าใช้เพื่อจิตบำบัด เอ็นแอลพีมีข้อสมมุติและมูลฐานที่คล้ายกับวิธีจิตบำบัดปัจจุบันที่ทำแบบสั้น{{nbsp}}ๆ (brief) หรือที่ทำเป็นระบบ (systemic)<ref>
{{cite book | authors = Battino, Rubin | year = 2002 | title = Expectation: The Very Brief Therapy Book | publisher = Crown House Publishing }}</ref><ref>
{{cite book | authors = Kerry, S | year = 2009 | title = Pretreatment expectations of psychotherapy clients | location = Canada | publisher = University of Alberta }}</ref><ref name="Beyebach 1999" />
เส้น 173 ⟶ 171:
ในจิตบำบัดวิธีอื่น{{nbsp}}ๆ
ฺ(2) ใช้เป็นวิธีจิตบำบัดโดยเฉพาะที่เรียกว่า Neurolinguistic Psychotherapy<ref>{{cite book | authors = Bridoux, D; Weaver, M | year = 2000 | title = Neuro-linguistic psychotherapy | editors = Davies, Dominic; Neal, Charles | work = Therapeutic perspectives on working with lesbian, gay and bisexual clients | location = Buckingham, England | publisher = Open University Press | isbn = 0-335-20333-7 | pages = 73-90 }}</ref>
ซึ่ง{{nowrap |สภาสหราชอาณาจักรเพื่อจิตบำบัด}} (United Kingdom Council for Psychotherapy) ซึ่งเป็นสมาคมทางอาชีพยอมรับ<ref>{{cite web | author = UKCP | url = http://www.psychotherapy.org.uk/experiential_constuctivist.html | archiveurl = https://web.archive.org/web/20080612155128/http://www.psychotherapy.org.uk/experiential_constuctivist.html | archivedate = 2008-06-12 | title = United Kingdom Council for Psychotherapy - List of Recognized Experimental Constructivist forms of therapies | publisher = Psychotherapy.org.uk | accessdate = 2009-08-19}}</ref>
โดยเริ่มแรกอาศัยการรับรองจากสมาคม Association for Neuro Linguistic Programming<ref>{{cite web | url = http://www.cleanlanguage.co.uk/validation.html | title = The road to recognition: NLP in Psychotherapy and Counselling | accessdate = 2010-01-29}}</ref>
แล้วต่อมาสมาคมที่สืบทอดมาคือ Neuro Linguistic Psychotherapy and Counselling Association<ref>{{cite web | url = http://www.psychotherapy.org.uk/327/nlptca | publisher = United Kingdom Council for Psychotherapy | title = Neuro Linguistic Psychotherapy Counselling Association NLPtCA | accessdate = 2016-06-11 | url-status = dead | archiveurl = https://web.archive.org/web/20160704015932/http://www.psychotherapy.org.uk/327/nlptca | archivedate = 2016-07-04}}</ref>
แต่องค์กรกระทรวงสาธารณสุขของประเทศคือ National Institute for Health and Care Excellence (NICE) ก็ไม่ได้อนุมัติให้ใช้ทั้งเอ็นแอลพีและ Neuro-Linguistic Psychotherapy เพื่อรักษาโรคใด{{nbsp}}ๆ<ref>{{cite web | title = Talking therapies: A four-year plan of action | publisher = Department of Health (UK) | year = 2011 | url = https://www.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/135463/dh_123985.pdf.pdf | page = 16 | accessdate = 2013-06-24}}</ref>
 
ตามสโตลส์นาว (2010 ) "หนังสืออัปยศ ''จากกบไปสู่เจ้าชาย'' และอื่น{{nbsp}}ๆ ของแบนด์เลอร์กับกรินเดอร์อวดว่า เอ็นแอลพีเป็นยาสารพัดโรคที่รักษาอาการทางกายและใจจำนวนมากรวมทั้งปัญหาการเรียนรู้ [[โรคลมชัก]] [[สายตาสั้น]] และ[[ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ]]
เพราะสัญญาว่าสามารถรักษา[[โรคจิตเภท]] [[โรคซึมเศร้า]] [[ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ]] และเพราะดูถูกโรคทาง[[จิตเวช]]ว่าเป็นเพียงโรคกายเหตุจิต (psychosomatic) เอ็นแอลพีจึงคล้ายกับลัทธิ/ศาสนาคือ Scientology และ (องค์กรที่เกี่ยวข้องกันคือ) Citizens Commission on Human Rights (CCHR)"<ref name="Stollznow 2010" />
[[งานทบทวนอย่างเป็นระบบ|งานทบทวนงานทดลองอย่างเป็นระบบ]]ปี 2012 สรุปว่า มีหลักฐานน้อยมากกว่า การรักษาด้วยเอ็นแอลพีปรับปรุงสุขภาพให้ดีขึ้นโดยประการใด{{nbsp}}ๆ<ref name="ingentaconnect.com">{{cite journal | last1 = Sturt | first1 = Jackie | last2 = Ali | first2 = Saima | last3 = Robertson | first3 = Wendy | last4 = Metcalfe | first4 = David | last5 = Grove | first5 = Amy | last6 = Bourne | first6 = Claire | last7 = Bridle | first7 = Chris | title = Neurolinguistic programming: a systematic review of the effects on health outcomes | journal = British Journal of General Practice | volume = 62 | issue = 604 | pages = e757-64 | date = November 2012 | doi = 10.3399/bjgp12X658287 | pmid = 23211179 | id = 23211179 | pmc = 3481516 }}</ref>
เส้น 187 ⟶ 185:
ชาวอังกฤษผู้มีชื่อเสียงคือสตีเฟน บรายเออร์ส (Stephen Briers) ได้เขียนไว้ว่า เอ็นแอลพีไม่ใช้วิธีบำบัดที่ปะติดปะต่อกัน แต่เป็นการรวบรวมเทคนิคต่าง{{nbsp}}ๆ ที่ไม่มีมูลฐานทางทฤษฎีที่ชัดเจน... (และ) หลักฐานที่สนับสนุนวิธีก็เท่ากับไม่มี<ref name="Briers2012">{{cite book | last = Briers | first = Stephen | title = Brilliant Cognitive Behavioural Therapy: How to use CBT to improve your mind and your life | url = https://books.google.com/books?id=6BQ2S3F_eDMC&pg=PT15&vq=ragbag#v=onepage | date = 2012-12-27 | publisher = Pearson UK | isbn = 978-0-273-77849-3 | page = 15}}</ref>
ส่วนนักเขียนท่านหนึ่งกล่าวว่า เอ็นแอลพีดูเหมือนจะเป็นวิธีการผิว{{nbsp}}ๆ ที่เป็นเล่ห์กลเพื่อจัดการปัญหาสุขภาพจิต
โชคไม่ดีว่า เอ็นแอลพีเป็นสัมมนาแรกในบรรดาสัมมนาต่อ{{nbsp}}ๆ มาที่วางตลาดขายต่อมวลชนที่อ้างว่า สามารถรักษาความผิดปกติทางจิตทุกอย่าง...เพราะเอ็นแอลพีไม่มี[[หลักฐานเชิงประสบการณ์]]หรือ[[หลักฐานทางวิทยาศาสตร์]]สนับสนุนหลักทฤษฎีหรือประสิทธิผลในการรักษา
สิ่งที่หลงเหลือก็คือ เรื่องเหลวไหลเกี่ยวกับจิตที่วางตลาดขายต่อมวลชน"<ref name="Eisner2000">{{cite book | author = Eisner, Donald A | title = The Death of Psychotherapy: From Freud to Alien Abductions | url = https://books.google.com/books?id=hmcDl6l8uXwC&pg=PA158 | year = 2000 | publisher = Greenwood Publishing Group | isbn = 978-0-275-96413-9 | pages = 158-159}}</ref>
 
ตามผู้เชี่ยวชาญเรื่องสะกดจิตชาวฝรั่งเศส-อเมริกันแอนเดร มิวล์เลอร์ ไวเซ็นฮ็อฟเฟอร์{{Efn-ua | name = Weitzenhoffer}}ซึ่งเป็นเพื่อนและผู้เชี่ยวชาญเยี่ยงกันกับมิลตัน เอริกสัน ได้เขียนในปี 1989 ไว้ว่า "เอ็นแอลพีได้สรุปและดึงแก่นของวิธีบำบัดที่ได้ผลแล้วให้วิธีที่ใครก็ได้สามารถกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญเช่นวิตทิเกอร์ (Whittaker), เวอร์จิเนีย แซเทียร์ หรือเอริกสันหรือไม่... ความล้มเหลว (ของเอ็นแอลพี) ในกิจนี้ก็ชัดเจนอยู่แล้วเพราะปัจจุบันไม่มีคนเป็นจำนวนมากที่เก่งเท่ากับผู้เชี่ยวชาญเหล่านั้น ไม่มีใครสักคนเท่ากับวิตทิเกอร์, เวอร์จิเนีย แซเทียร์ หรือเอริกสัน
เส้น 200 ⟶ 198:
ตามบรายเออร์ส มันเป็น "ความล้มเหลวชนิดเหมือนกับละคร ไม่ใช่ความล้มเหลวที่ทำให้เบา{{nbsp}}ๆ แบบเอ็นแอลพี ไม่ใช่ความล้มเหลวที่เรียกว่าไม่ใช่ความล้มเหลว" ซึ่งผลักดันบุคคลเหล่านี้ให้ได้ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่
เขายืนยันว่า การยึดหลักนี้นำไปสู่การดูถูกตนเอง
ตามบรายเออร์ส ความอุตสาหะพยายามส่วนบุคคลเป็นผลของ[[ค่านิยม]]และปณิธานที่ดำรงไว้มั่น และ{{nowrap |ดังนั้น}} การดูถูกความล้มเหลวส่วนตัวอันสำคัญว่าเป็นเพียงข้อมูลป้อนกลับ เท่ากับดูถูกสิ่งที่ตนให้คุณค่า
เขาเขียนว่า "บางครั้งเราจำเป็นต้องยอมรับและเศร้าโศกไว้อาลัยกับความฝันของเรา ไม่ใช่เพียงปัดมันทิ้งมันง่าย{{nbsp}}ๆ ว่าไม่สำคัญอะไร"
บรายเออร์สยังยืนยันด้วยว่า หลักของเอ็นแอลพีทำให้หลงตนเอง คิดถึงแต่ตนเอง และห่างจากความรับผิดชอบทางศีลธรรม<ref>{{cite book | last1 = Briers | first1 = Stephen | title = Psychobabble: Exploding the myths of the self-help generation | edition = 1st | year = 2012 | publisher = Pearson Education Limited | location = Santa Cruz | isbn = 978-0-273-77239-2 | chapter = MYTH 16: There is no failure, only feedback | chapter-url = https://books.google.com/books?id=2zsQeth9yRAC}}</ref>
 
เส้น 290 ⟶ 288:
{{cite web | title = Text of Bandler Lawsuit | url = http://www.chris-nlp-hall.com/galleries/docs/Summary%20of%20Legal%20Proceedings.pdf | accessdate = 2013-06-12}}</ref><ref>
{{cite web | title = Summary of the Legal Proceedings January 1997-June 23, 2003 | url = http://www.steverrobbins.com/nlpschedule/random/lawsuit-text.html | accessdate = 2013-06-12}}</ref>
ในเดือน{{nowrap |กุมภาพันธ์ 2000}} ศาลตัดสินให้แบนด์เลอร์แพ้โดยระบุว่า "แบนด์เลอร์ได้แสดงต่อสาธารณชนอย่างผิด{{nbsp}}ๆ ผ่านข้อตกลงทางสิทธิและสื่อโปรโมชัน ว่าเขามีกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาเกี่ยวกับเอ็นแอลพีทั้งหมดแต่เพียงผู้เดียว และมีอำนาจขาดเฉพาะเด็ดขาดในการระบุผู้เป็นสมาชิกและผู้ได้การรับรองในสังคมสมาคมของเอ็นแอลพี"<ref>
{{cite court | litigants = Richard W Bandler et al v. Quantum Leap Inc. et al (Super. Ct. Santa Cruz County, 2000, No. 132495) | court = Super. Ct. Santa Cruz County | date = 2000-02-10 | url = http://63.197.255.150/openaccesspublic/civil/casereport.asp?casenumber=CV132495&courtcode=A&casetype=CIS}}</ref><ref>
{{cite web | title = NLP Matters | url = http://www.anlp.org/anlpnews2.htm | archiveurl = https://web.archive.org/web/20010210021504/http://www.anlp.org/anlpnews2.htm | archivedate = 2001-02-10 | accessdate = 2013-06-12}}</ref>
เส้น 313 ⟶ 311:
{{cite web | title = Trademark Status and Document Retrieval | url = http://tsdr.uspto.gov/#caseNumber=73253122&caseType=SERIAL_NO&searchType=statusSearch | date = 2013-06-13 | accessdate = 2013-06-14}}</ref>
 
== สังคมสมาคม การให้การรับรอง และมาตรฐานผู้ประกอบกิจ ==
ชื่อ ''NLP'' และ ''Neuro-linguistic Programming'' ไม่มีบุคคลหรือองค์กรใดเป็นเจ้าของ ไม่ใช่ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีเครื่องหมายการค้า<ref>
{{cite web | title = NLP FAQ | url = http://users.telenet.be/merlevede/nlpfaq35.htm | date = 2001-07-27 | accessdate = 2013-06-14}}</ref><ref>
เส้น 334 ⟶ 332:
{{รายการอ้างอิง |30em}}
 
== หนังสือของแบนด์เลอร์กับกรินเดอร์ ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* Bandler, R., Grinder, J. (1975), ''The Structure of Magic I: A Book About Language and Therapy'', Science and Behavior Books. <!--(112+ citations) the citations to the German version of this book were excluded from this calculation-->
* Bandler, R., Grinder, J. (1976), ''The Structure of Magic II. A Book About Communication and Change'', Science and Behavior Books.
เส้น 378 ⟶ 376:
{{Refend}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
[[หมวดหมู่:การบำบัด]]
[[หมวดหมู่:การสะกดจิต]]