ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 113:
== สิ้นชีพิตักษัย ==
 
หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต ได้ทรงทำงานมาตลอดชนม์ชีพและมีพลานามัยดีมาตลอด จนกระทั่งชันษาล่วง 60 ปี จึงมีเหตุให้แพทย์ต้องทำการผ่าตัดถึง 2 คราว คือเป็นต้อกระจกที่เนตรทั้ง 2 ข้าง หลังผ่าตัดครั้งหลังเมื่อปี พ.ศ. 2504 แม้วรกายจะซูบผอมลง ก็มิได้ประชวรอย่างที่เรียกกันว่า "ล้มหมอนนอนเสื่อ" ยังได้ทรงปฏิบัติกิจการในหน้าที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระองค์ฯ ตลอดมาด้วยดี จนถึงปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2505 จึงเริ่มประชวร และเข้ารักษาองค์ที่[[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] และ[[โรงพยาบาลศิริราช]]ตามลำดับ แพทย์ลงความเห็นว่าประชวรด้วย'''โรคตับแข็ง''' ทรงรับการรักษาอยู่ 1 เดือนเศษ กำลังกายทรุดลงมาก และสิ้นชีพิตักษัยด้วยอาการอันสงบเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2505 เวลา 7 นาฬิกาเศษ บ่ายวันเดียวกันนั้น ณ ศาลามรุพงศ์ [[วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร]] ได้รับพระราชทานน้ำอาบศพและหีบทองทึบมีเครื่องประกอบเกียรติยศตาม[[ฐานันดรศักดิ์]] และตั้งศพไว้ ณ ที่นั้นเพื่อประกอบการกุศล
 
ในงานออก[[เมรุ]] [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน'''[[โกศ]]ราชวงศ์''' ประกอบศพหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุตเพื่อเป็นเกียรติยศเพิ่มขึ้น ทั้งโปรดเกล้าฯ ให้[[สำนักพระราชวัง]]จัดการเป็นงานหลวงทุกประการ และได้โปรดเกล้าฯ ให้ตีพิมพ์หนังสือชุมนุมพระบรมราชาธิบาย ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รวม 2 หมวด เพื่อพระราชทานเป็นของชำร่วยในงานนี้ด้วย อนึ่ง [[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]]ได้ทรงพระกรุณา พระราชทานพระราชานุเคราะห์แก่หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต นับตั้งแต่ทรงเริ่มรักษาองค์ที่โรงพยาบาลจนถึงวาระชีพิตักษัย และทั้งตลอดงานตั้งศพด้วย
หลังผ่าตัดครั้งหลังเมื่อปี พ.ศ. 2504 แม้วรกายจะซูบผอมลง ก็มิได้ประชวรอย่างที่เรียกกันว่า "ล้มหมอนนอนเสื่อ" ยังได้ทรงปฏิบัติกิจการในหน้าที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระองค์ฯ ตลอดมาด้วยดี
 
ครั้นถึงวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2505 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ได้เสด็จพระราชดำเนินประทับพลับพลาอิสสริยาภรณ์ [[วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร]] ทรงทอดผ้าสดับปกรณ์ แล้วเสด็จฯขึ้นสู่เมรุพระราชทานเพลิงศพ
จนถึงปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2505 จึงเริ่มประชวร และเข้ารักษาองค์ที่[[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]]และ[[โรงพยาบาลศิริราช]]ตามลำดับ แพทย์ลงความเห็นว่าประชวรด้วย'''โรคตับแข็ง''' ทรงรับการรักษาอยู่ 1 เดือนเศษ กำลังกายทรุดลงมาก และสิ้นชีพิตักษัยด้วยอาการอันสงบเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2505 เวลา 7 นาฬิกาเศษ
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
บ่ายวันเดียวกันนั้น ณ ศาลามรุพงศ์ [[วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร]] ได้รับพระราชทานน้ำอาบศพและหีบทองทึบมีเครื่องประกอบเกียรติยศตาม[[ฐานันดรศักดิ์]] และตั้งศพไว้ ณ ที่นั้นเพื่อประกอบการกุศล
{{ท.จ.}}
 
{{จ.ม.}}
ในงานออก[[เมรุ]] [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน'''[[โกศ]]ราชวงศ์''' ประกอบศพหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุตเพื่อเป็นเกียรติยศเพิ่มขึ้น ทั้งโปรดเกล้าฯ ให้[[สำนักพระราชวัง]]จัดการเป็นงานหลวงทุกประการ และได้โปรดเกล้าฯ ให้ตีพิมพ์หนังสือชุมนุมพระบรมราชาธิบาย ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รวม 2 หมวด เพื่อพระราชทานเป็นของชำร่วยในงานนี้ด้วย
{{ร.จ.ม.}}
 
{{ป.ป.ร.4}}
อนึ่ง [[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]]ได้ทรงพระกรุณา พระราชทานพระราชานุเคราะห์แก่หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต นับตั้งแต่ทรงเริ่มรักษาองค์ที่โรงพยาบาลจนถึงวาระชีพิตักษัย และทั้งตลอดงานตั้งศพด้วย
{{ภ.ป.ร.3}}
 
ครั้นถึงวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2505 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ได้เสด็จพระราชดำเนินประทับพลับพลาอิสสริยาภรณ์ [[วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร]] ทรงทอดผ้าสดับปกรณ์ แล้วเสด็จฯขึ้นสู่เมรุพระราชทานเพลิงศพ
 
== อ้างอิง ==