ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาฬสีน้ำเงิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33:
}}
 
'''วาฬสีน้ำเงิน''' ({{lang-en|Blue whale}}; ชื่อวิทยาศาสตร์: ''Balaenoptera musculus'') เป็น[[Balaenopteridae|วาฬบาลีน]] (Balaenopteridae) และถือเป็น[[สัตว์]]ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก วาฬสีน้ำเงินที่ตัวขนาดกลางๆกลาง ๆ จะยาวประมาณ 30 กว่าเมตร แต่ถ้าขนาดเล็กจะมีความยาวน้อยกว่า 30 เมตร (วาฬสีน้ำเงินแคระ หรือ ''B. m. brevicauda'') แต่ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยค้นพบมีความยาว 56 เมตร โดยวัดความยาวของช้างในปัจจุบันที่นำความยาวของช้างมาต่อกันจำนวนแปดเชือก(ช้างบางสายพันธุ์ในปัจจุบันสามารถยาวได้ถึง 7.4เมตรหรือเ มตรหรือ 7.5 เมตร) น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ ประมาณ 100–200 ตัน เฉพาะ[[ลิ้น]]ก็มีน้ำหนักเกือบเท่า[[ช้าง]]หนึ่งตัว [[หัวใจ]]มีขนาดเท่า[[รถยนต์]]คันหนึ่ง และเส้นเลือดบางเส้นกว้างขนาดที่มนุษย์พอจะลงไปว่ายน้ำได้ และครีบหางก็มีขนาดกว้างกว่าปีกของเครื่องบินโดยสารขนาดเล็ก จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกเท่าที่เคยมีมา มีขนาดใหญ่กว่า[[ไดโนเสาร์]]ชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก<ref name="อัศ">{{cite web|url=http://cuptv.com/play/694/17716/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3/03-%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-2558-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-1/|title=อัศจรรย์โลกใต้น้ำ ตอนที่ 1 |date=3 January 2015|accessdate=3 January 2015|publisher=ช่อง 7}}</ref>
 
อาศัยอยู่ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ตอนใต้, [[แอตแลนติก]]และ[[มหาสมุทรอินเดีย]] รวมถึงในมหาสมุทรแอนตาร์กติกด้วย และแม้จะมีขนาดร่างกายใหญ่โต แต่วาฬสีน้ำเงินก็มีรูปร่างเพรียวยาวเหมาะแก่การว่ายน้ำ จึงสามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 20 นอตต่อชั่วโมง<ref name="อัศ"/>
บรรทัด 41:
กิน[[เคย]]และ[[แพลงก์ตอน]]เป็นอาหาร แต่ก็อาจจะกิน[[สัตว์น้ำ]]ขนาดเล็กเช่น ปลาขนาดเล็กเข้าไปด้วย สามารถดำน้ำลงไปหาอาหารได้ลึกถึง 150 เมตร และปกติจะดำน้ำนาน 30 นาที แต่มีบันทึกสูงสุดว่าดำได้นานถึง 50 นาที และพ่นน้ำได้สูงถึง 10 เมตร ทั้งนี้ วาฬสีน้ำเงินที่โตเต็มวัยเคยกินวันหนึ่งได้มากถึง 4 [[เมตริกตัน|ตัน]]
 
วาฬสีน้ำเงินถูกล่าอย่างหนักเพื่อต้องการไขมันและ[[น้ำมัน]] โดยเฉพาะในช่วง 70 ปีแรกของ[[คริสต์ศตวรรษที่ 20|ศตวรรษที่ 20]] คาดว่ามีวาฬสีน้ำเงินราวเกิน 500,000 ตัวถูกฆ่าตาย ประชากรวาฬรอบเกาะเซาท์จอร์เจียในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ถูกฆ่าแบบล้างบาง รวมทั้งพวกที่เคยหากินอยู่นอก[[ทะเลญี่ปุ่น|ชายฝั่งญี่ปุ่น]]ด้วย ประชากรวาฬสีน้ำเงินบางกลุ่มลดจำนวนลงถึงร้อยละ 98 จนเข้าสู่สภาพของการเป็นสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ กระทั่งถึงช่วงกลาง[[ทศวรรษ 1950]] จึงได้มีการอนุรักษ์ขึ้นมาอย่างจริงจัง <ref>[http://www.ngthai.com/ngm/0904/feature.asp?featureno=2 วาฬสีน้ำเงิน]</ref>
 
นอกจากนี้แล้ว วาฬสีน้ำเงินยังเป็นสัตว์ที่ส่งเสียงร้องได้กว้างไกลที่สุดในโลกอีกด้วย โดยสามารถส่งได้ได้ดังถึง 1,500 [[กิโลเมตร]] ในลักษณะของ[[คลื่นเสียง]]ที่มีความหลากหลาย ซึ่งเชื่อกันว่าไม่ได้เป็นไปใน[[การสื่อสาร]]เพียงอย่างเดียว หากแต่ยังใช้การนำทางอีกด้วย
 
ปัจจุบัน มีปริมาณวาฬสีน้ำเงินในซีกโลกใต้อยู่ประมาณ 1,500 ตัว (น้อยมาก) อีกทั้งมีหลักฐานว่ามีจำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 เปอร์เซนต่อปี แต่ยังไม่มีการประมาณจำนวนวาฬชนิดนี้ที่ดีพอในบริเวณอื่นของโลก <ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9530000090170|title= “วาฬสีน้ำเงิน” เจ้าสมุทรที่ใกล้สูญพันธุ์ |work=[[ผู้จัดการออนไลน์]]}}</ref>
 
== อ้างอิง ==