ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานศึกษาวิกิพีเดียทางวิชาการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:Q870337
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน แก้ deadurl
บรรทัด 2:
{{short description |งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้วิกิพีเดีย เกี่ยวกับคุณภาพของเนื้อหา และเกี่ยวกับการดูแลระบบ}}
{{ใช้ปีคศ}}
ตั้งแต่[[วิกิพีเดีย]]ตั้งขึ้นได้ไม่กี่ปี ก็มี '''งานศึกษาวิกิพีเดียทางวิชาการ'''จำนวนมากที่ตีพิมพ์ใน[[วรรณกรรม]]ที่[[ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน]]
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
งานศึกษาวิกิพีเดียทางวิชาการ, การศึกษาวิกิพีเดียทางวิชาการ, งานศึกษาทางวิชาการเกี่ยวกับวิกิพีเดีย, การศึกษาทางวิชาการเกี่ยวกับวิกิพีเดีย, งานศึกษาทางวิชาการเรื่องวิกิพีเดีย, การศึกษาทางวิชาการเรื่องวิกิพีเดีย,
academic studies about Wikipedia
-->
ตั้งแต่[[วิกิพีเดีย]]ตั้งขึ้นได้ไม่กี่ปี ก็มี '''งานศึกษาวิกิพีเดียทางวิชาการ'''จำนวนมากที่ตีพิมพ์ใน[[วรรณกรรม]]ที่[[ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน]]
[[การวิจัย]]แบ่งได้ออกเป็นสองหมวดคือ
หมวดแรก[[วิเคราะห์]]การสร้างและ[[ความเชื่อถือได้]]ของเนื้อหา[[สารานุกรม]] หมวดสองตรวจสอบประเด็นทางสังคม เช่นการใช้สอยและการดูแลระบบ
เส้น 14 ⟶ 10:
=== การสร้าง ===
==== ผู้แก้ไขส่วนน้อยสร้างเนื้อหาที่คงยืนส่วนมาก ====
ในวรรณกรรมทรงอิทธิพลที่ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน<ref name=mngrp07>{{cite conference | title = Creating, Destroying, and Restoring Value in Wikipedia | first1 = Reid | last1 = Priedhorsky | first2 = Jilin | last2 = Chen | first3 = Snider (Tony) | last3 = Lam | first4 = Katherine | last4 = Panciera | first5 = Loren | last5 = Terveen | first6 = Shane | last6 = Austin | year = 2007 | conference = Conference on Supporting Group Work | conferenceurl = http://www.acm.org/conferences/group/conferences/group07/ | booktitle = Proceedings of the 2007 international ACM conference on Supporting group work | publisher = ACM Press | pages = 259-268 | isbn = 978-1-59593-845-9 | doi = 10.1145/1316624.1316663 | url = http://reidster.net/pubs/group282-priedhorsky.pdf | archiveurl = https://web.archive.org/web/20120131125254/http://reidster.net/pubs/group282-priedhorsky.pdf | archivedate = 2012-01-31 | deadurlurl-status = nolive }}</ref>
ซึ่งหนังสือพิมพ์รายวันอังกฤษ''[[เดอะการ์เดียน]]''ได้กล่าวถึง<ref>{{cite web | last = Baker | first = Nicholson | title = How I fell in love with Wikipedia | url = https://www.theguardian.com/technology/2008/apr/10/wikipedia.internet | work = The Guardian | accessdate = 2010-11-29 | date = 2008-04-10 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20190824205115/https://www.theguardian.com/technology/2008/apr/10/wikipedia.internet | archivedate = 2019-08-24 | deadurlurl-status = nolive}}</ref>
ทีม[[นักวิจัย]]หกท่านจาก[[มหาวิทยาลัยมินนิโซตา]] ([[สหรัฐ]]) ได้วัดความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนการแก้ไขกับจำนวนการดูคำที่ผู้เขียนนั้น ๆ เขียน โดยวัดเป็นจำนวนการดูคำที่ผู้เขียนหนึ่ง ๆ เพิ่มขึ้นใน[[บทความ]] ซึ่งเรียกว่า persistent word views (PWV)
ผู้เขียนงานวิชาการอธิบายวิธีการหลัก[[การนับได้ดีที่สุดคือ]]ไว้ว่า "แต่ละครั้งที่ดูบทความ คำแต่ละคำก็ได้ดูด้วย
เมื่อดูคำที่เขียนโดยผู้เขียน ก ผู้เขียนก็จะได้รับเครดิตเป็นหนึ่ง PWV (เรียกว่าเป็นคะแนนต่อจากนี้)"
จำนวนการดูบทความประมาณจากบันทึกของ[[เว็บเซิร์ฟเวอร์]]
เส้น 27 ⟶ 23:
จากข้อมูลนี้ นักวิจัยได้[[อนุมาน]]ความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้คือ
{{quote |
การเพิ่มแชร์ของ PWV เพิ่มขึ้นอย่างซูเปอร์ชี้กำลัง (super-exponentially) ตามลำดับจำนวนการแก้ไข กล่าวอีกอย่างก็คือ ผู้แก้ไขอภิชน (คือคนที่แก้ไขมากสุด) มอบคุณประโยชน์ให้ "มากกว่า" ที่ปกติจะได้ตามความสัมพันธ์แบบเลขชี้กำลัง
กล่าวอีกอย่างก็คือ ผู้แก้ไขอภิชน (คือคนที่แก้ไขมากสุด) มอบคุณประโยชน์ให้ "มากกว่า" ที่ปกติจะได้ตามความสัมพันธ์แบบเลขชี้กำลัง
}}
งานศึกษายังได้วิเคราะห์ผลของ[[วิกิพีเดีย:บอต|บอต]]<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua | name = WikiNotThai |
เส้น 39 ⟶ 34:
ตามการเพิ่มอิทธิพลของผู้แก้ไขท๊อป 1/1000 ตามลำดับคะแนน PWV งานศึกษาได้ฟันธงว่า
{{quote |
... ผู้แก้ไขบ่อย ๆ ควบคุมสิ่งที่คนเห็นเมื่อมาเยี่ยมวิกิพีเดียและ ... การควบคุม/ความเป็นเจ้าเช่นนี้ก็กำลังเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
...
ผู้แก้ไขบ่อย ๆ ควบคุมสิ่งที่คนเห็นเมื่อมาเยี่ยมวิกิพีเดียและ ...
การควบคุม/ความเป็นเจ้าเช่นนี้ก็กำลังเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
}}
 
เส้น 47 ⟶ 40:
{{ข้อมูลเพิ่มเติม |ข้อวิจารณ์วิกิพีเดีย#การแบ่งชั้นทางสังคม}}
วรรณกรรมที่ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกันให้ข้อสังเกตว่า สังคมวิกิพีเดียมีลำดับชั้นเพราะมีชนชั้น "[[วิกิพีเดีย:ผู้ดูแลระบบ|ผู้ดูแลระบบ/แอดมิน]]"{{Efn-ua | name = WikiNotThai}}
งานนี้เสนอว่า การจัดลำดับชั้นเช่นนี้อาจมีประโยชน์ในบางเรื่อง แต่ก็ระบุว่าผู้ดูแลระบบและ[[วิกิพีเดีย:ชาววิกิพีเดีย|ผู้ใช้]]อื่น ๆ มีอำนาจและสถานะที่ไม่เท่ากันอย่างชัดเจน<ref>{{cite web | url = https://www-users.cs.umn.edu/~echi/papers/2007-CHI/2007-05-altCHI-Power-Wikipedia.pdf | date = 2007-01-31 | title = Power of the Few vs. Wisdom of the Crowd: Wikipedia and the Rise of the Bourgeoisie | author = Chi, Ed | author2 = Kittur, Aniket | author3 = Pendleton, Bryan A. | author4 = Suh, Bongwon | author5 = Mytkowicz, Todd | work = Computer/Human Interaction 2007 Conference | publisher = Association for Computing Machinery | accessdate = 2017-04-23 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20070824065951/http://www-users.cs.umn.edu/~echi/papers/2007-CHI/2007-05-altCHI-Power-Wikipedia.pdf | archivedate = 2007-08-24 | deadurlurl-status = yesdead}}</ref>
 
เมื่อวิเคราะห์ประวัติการแก้ไขวิกิพีเดีย[[อังกฤษ]]ทั้งหมดจนถึงเดือนกรกฎาคม 2006 งานศึกษาเดียวกันระบุว่า อิทธิพลการแก้ไขเนื้อหาของผู้ดูแลระบบได้ลดลงเรื่อย ๆ ตั้งแต่ปี 2003 เมื่อผู้ดูแลระบบแก้ไขเนื้อหาในอัตรา{{nowrap |ร้อยละ 50}} เทียบกับปี 2006 ที่{{nowrap |ร้อยละ 10}}
เส้น 60 ⟶ 53:
งานศึกษาสรุปว่า
{{quote |
แม้อิทธิพลของพวกเขาจะโรยลงในปีที่ผ่านมาไม่นานนี้ ผู้ใช้อภิชนก็ยังปรากฏกว่ามอบงานใหญ่พอดูให้แก่วิกิพีเดีย อนึ่ง การแก้ไขของผู้ใช้อภิชนดูจะมีแก่นสาร คือ พวกเขาไม่เพียงแค่แก้คำผิดหรือเปลี่ยนแบบการอ้างอิง ...
อนึ่ง การแก้ไขของผู้ใช้อภิชนดูจะมีแก่นสาร คือ พวกเขาไม่เพียงแค่แก้คำผิดหรือเปลี่ยนแบบการอ้างอิง ...
}}
 
เส้น 67 ⟶ 59:
<!-- TODO: a summary of the peer-reviewed papers in this area -->
<!-- {{บทความหลัก |ความเชื่อถือได้ของวิกิพีเดีย}} -->
เอกสารงานประชุมทางปรัชญาด้านวิธีการให้เหตุผลปี 2010 ได้ประเมินว่าความเชื่อถือได้ของวิกิพีเดียมาจากคุณค่าทาง[[ญาณวิทยา]] หรือว่ามาจากคุณค่าที่ปฏิบัติเกี่ยวกับความใช้ได้
โดยแล้วสรุปว่า แม้ผู้อ่านอาจไม่สามารถประเมิน[[ความรู้]]และความเชี่ยวชาญ (ซึ่งเป็นคุณค่าทางญาณวิทยา) ของผู้เขียนบทความหนึ่ง ๆ แต่ก็อาจประเมินความหลงใหลของผู้เขียน และวิธี[[การสื่อสาร]]ที่ทำความหลงใหลนั้นให้ปรากฏ ซึ่งเป็นเหตุผลให้เชื่อถือ<ref>Goodwin, Jean. (2010). [https://scholar.uwindsor.ca/cgi/viewcontent.cgi?article=1144&context=ossaarchive The authority of Wikipedia ]. ([https://web.archive.org/web/20160216141638/http://scholar.uwindsor.ca/cgi/viewcontent.cgi?article=1144&context=ossaarchive archived]) In Juho Ritola (Ed.), ''Argument cultures: Proceedings of OSSA 09'', CD-ROM (pp. 1-21), Windsor, ON: Ontario Society for the Study of Argumentation. </ref>
 
รายละเอียดก็คือ ผู้เขียนเอกสารได้อ้างว่า วิกิพีเดียเชื่อถือไม่ได้เพราะความเชี่ยวชาญของเอกบุคคล เพราะความรู้ของคนโดยรวม ๆ หรือแม้แต่เพราะประสบการณ์ให้ที่ทำให้รู้สึกว่าเชื่อถือได้ในอดีต
นี่ก็เพราะความนิรนามหรือการใช้นามแฝงป้องกันไม่ให้ประเมินความรู้ของผู้เขียนได้ และวัฒนธรรมต่อต้านผู้เชี่ยวชาญของวิกิพีเดียก็ทำให้เรื่องนี้แก้ไขได้ยาก
การแก้ไขวิกิพียเดียโดยมากยังจำกัดอยู่ในวงผู้แก้ไขที่เป็นอภิชน โดยไม่ได้ประมวล "ปัญญาของชุมชน" ซึ่งในบางกรณีก็ทำคุณภาพของบทความให้ตกลงเสียเอง
เส้น 76 ⟶ 68:
ดังนั้น ปัจจัยทางญาณวิทยาเหล่านี้จึงไม่เป็นเหตุผลให้ใช้วิกิพีเดีย
 
ผู้เขียนเอกสารต่อมาจึงเสนอเหตุผลให้เชื่อถือวิกิพีเดียอาศัยคุณค่าที่ปฏิบัติเกี่ยวกับความใช้ได้ ซึ่งอาจกล่าวอย่างคร่าว ๆ ว่ามีสองปัจจัย
ปัจจัยแรกคือ ขนาดและกิจกรรมมหาศาลในวิกิพีเดียเป็นเครื่องระบุว่า ผู้แก้ไขบทความมุ่งมั่นให้ความรู้แก่ชาวโลก
ปัจจัยที่สองคือ การพัฒนานโยบาย แนวปฏิบัติ สถาบัน และเทคโนโลยีที่โปร่งใส นอกเหนือจากกิจกรรมมหาศาลที่มองเห็นได้ ช่วยคลายความเคลือบแคลงใจในเรื่องต่าง ๆ ที่บุคคลอาจมีในการเชื่อวิกิพีเดีย
เส้น 83 ⟶ 75:
=== ภูมิศาสตร์ ===
งานวิจัยของสถาบันอินเทอร์เน็ตของ[[มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด]]ได้แสดงว่า จนถึงปลายปี 2009 บทความวิกิพีเดียที่ติด[[พิกัด]] (คือที่ใช้[[วิกิพีเดีย:แม่แบบ|แม่แบบ]] [[:en:Template:Coord/doc|Coord]]) ตลอดทุกภาษา ครอบคลุมสถานที่ประมาณ {{nowrap |500 ล้าน}}แห่งใน[[โลก]]
แต่ก็มี[[การแจกแจง]]ทาง[[ภูมิศาสตร์]]ที่/ไม่เสมอกัน
บทความโดยมากเกี่ยวกับ[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] [[ยุโรป]] และ[[เอเชียตะวันออก]] โดยไม่ครอบคลุมเขตภูมิศาสตร์ขนาดใหญ่ใน[[ประเทศกำลังพัฒนา]] รวมทั้ง[[แอฟริกา]]โดยมาก<ref>{{cite web | url = http://zerogeography.blogspot.com/2009/11/mapping-geographies-of-wikipedia.html | title = Mapping the Geographies of Wikipedia Content | author = Graham, Mark | work = Mark Graham: Blog | publisher = ZeroGeography | date = 2009-11-12 | accessdate = 2009-11-16 | archive-url = https://web.archive.org/web/20091208013500/http://zerogeography.blogspot.com/2009/11/mapping-geographies-of-wikipedia.html | archive-date = 2009-12-08 | deadurlurl-status = yesdead }}</ref>
 
=== การประมวลภาษาธรรมชาติ ===
เส้น 98 ⟶ 90:
แม้ผู้ใช้จะเข้าถึงข้อมูลได้ผ่าน[[เว็บ]]
ผู้ใช้หลักก็เป็นโปรแกรมวิเคราะห์บทอัตโนมัติและ[[ปัญญาประดิษฐ์]]
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***--><ref>{{cite conference | url = http://atlas.tk.informatik.tu-darmstadt.de/Publications/2008/lrec08_camera_ready.pdf | title = Extracting Lexical Semantic Knowledge from Wikipedia and Wiktionary | first1 = Torsten | last1 = Zesch | first2 = Christoph | last2 = Müller | first3 = Iryna | last3 = Gurevych | year = 2008 | booktitle = Proceedings of the Conference on Language Resources and Evaluation (LREC) | archiveurl = https://web.archive.org/web/20110719095723/http://atlas.tk.informatik.tu-darmstadt.de/Publications/2008/lrec08_camera_ready.pdf | archivedate = 2011-07-19 | deadurlurl-status = nolive}}</ref>
ผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมันคู่หนึ่งได้สร้าง[[ขั้นตอนวิธี]]เพื่อระบุความสัมพันธ์ระหว่างคำต่าง ๆ โดยตรวจแวะผ่านวิกิพีเดียอังกฤษอาศัยการจัดหมวดหมู่ของบทความ แล้วสรุปว่า วิกิพีเดียได้สร้าง "[[อนุกรมวิธาน]]ที่สามารถแข่งขันกับ WordNet ในงานประมวลผลทางภาษา"<ref>{{Cite journal | title = WikiRelate! Computing semantic relatedness using Wikipedia psu.edu | authors = Strube, M; Ponzetto, SP | publisher = Proceedings of the National Conference | year = 2006 | url = http://www.aaai.org/Papers/AAAI/2006/AAAI06-223.pdf | archiveurl = https://web.archive.org/web/20120324093812/http://www.aaai.org/Papers/AAAI/2006/AAAI06-223.pdf | archivedate = 2012-03-24 | deadurlurl-status = nolive }}</ref>
 
== ข้อวิจารณ์เกี่ยวกับเนื้อหา ==
เส้น 115 ⟶ 107:
งานศึกษาปี 2007 ของบริษัทฮิตไวส์ (Hitwise)<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
'''ฮิตไวส์''' (Hitwise) เป็นบริษัทที่วัดพฤติกรรมของผู้ใช้[[คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ]] [[แท็บเล็ต]] และ[[สมาร์ทโฟน]]
ให้ข้อมูลแนวโน้มเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้เยี่ยมเว็บไซต์ พฤติกรรมการหาข้อมูล สร้างโพรไฟล์ของผู้เยี่ยมชมเว็บไวต์ไซต์และของเว็บไซต์ และวัดส่วนครองตลาดของเว็บไซต์
ซึ่งช่วยบริษัทต่าง ๆ ให้ใช้วิธีทางการตลาดซึ่งเหมาะสมที่สุด และปรับปรุงประสิทธิภาพการรณรงค์ทางการตลาด
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
ที่ตีพิมพ์ใน[[นิตยสาร]]''[[ไทม์]]''<ref>{{cite magazine | url = http://www.time.com/time/business/article/0,8599,1614751,00.html | title = Who's Really Participating in Web 2.0 | author = Tancer, Bill | magazine = Time Magazine | date = 2007-04-25 | accessdate = 2007-04-30 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20070430011528/http://www.time.com/time/business/article/0%2C8599%2C1614751%2C00.html | archivedate = 2007-04-30 | deadurlurl-status = yesdead}}</ref>
พบว่า ชายกับหญิงเข้าเยี่ยมวิกิพีเดียเท่า ๆ กัน แต่ผู้แก้ไข{{nowrap |ร้อยละ 60}} เป็นชาย
 
เส้น 218 ⟶ 210:
งานศึกษาตีความคำโต้แย้งที่ดุเดือดเหล่านี้ว่า
{{quote |
การต่อสู้เกี่ยวกับขอบเขตบทความเช่นนี้ก็ยังเกิดแม้ในสิ่งแวดล้อม[[ไฮเปอร์ลิงก์]]ก็เพราะชื่อบทความเป็นเรื่องสำคัญ เพราะบทความ "paleocentrism" ย่อมเด่นกว่า และคนอ่านก็มีโอกาสเห็นมากกว่าบทความ "ผลทางสังคมของ paleocentrism"
เพราะบทความ "paleocentrism" ย่อมเด่นกว่า และคนอ่านก็มีโอกาสเห็นมากกว่าบทความ "ผลทางสังคมของ paleocentrism"
}}
 
เส้น 226 ⟶ 217:
งานศึกษาพบว่า ความไม่ชัดเจนเช่นนี้ก่อการเล่นอำนาจ และทำการต่อสู้เป็นรุ่น ๆ เพื่อความเห็นพ้องให้เป็นส่วนของการต่อสู้[[วิกิพีเดีย:ความเป็นเจ้าของบทความ|ความเป็นเจ้าของบทความ]]
{{quote |
ในทางปฏิบัติแล้ว ... มักจะมีเจ้าของหน้าโดยพฤตินัย หรือมีกลุ่มผู้แก้ไขที่กำหนดเนื้อความของบทความ ความเห็นพ้องในอดีตของคนกลุ่มนี้อาจยกว่าเป็นเรื่องโต้แย้งไม่ได้ อำพรางการเล่นอำนาจที่ต้องทำเพื่อสร้างความเห็นพ้อง ประเด็นก็คือความชอบธรรมของความเห็นพ้องในอดีต เพราะ[[วิกิพีเดีย:ชาววิกิพีเดีย|ผู้ร่วมงาน]]ระยะยาวย่อมไม่อยากเสียเวลาโต้เถียงประเด็นที่ตนพิจารณาว่าจบแล้ว การชี้ความเห็นพ้องในอดีตก็เหมือนกับการลิงก์ไปยังนโยบายต่าง ๆ เป็นวิธีรับมือกับพฤติกรรม[[วิกิพีเดีย:เกรียน|เกรียน]] ในนัยตรงกันข้าม ผู้ใช้ใหม่หรือผู้ร่วมงานแบบนาน ๆ มาทีหนึ่งก็มักจะรู้สึกว่ามุมมองของตนไม่ได้พิจารณาในการโต้เถียงครั้งก่อน ๆ และต้องการจะยกปัญหาเดิมขึ้นอีก
ในทางปฏิบัติแล้ว ...
มักจะมีเจ้าของหน้าโดยพฤตินัย หรือมีกลุ่มผู้แก้ไขที่กำหนดเนื้อความของบทความ
ความเห็นพ้องในอดีตของคนกลุ่มนี้อาจยกว่าเป็นเรื่องโต้แย้งไม่ได้ อำพรางการเล่นอำนาจที่ต้องทำเพื่อสร้างความเห็นพ้อง
ประเด็นก็คือความชอบธรรมของความเห็นพ้องในอดีต
เพราะ[[วิกิพีเดีย:ชาววิกิพีเดีย|ผู้ร่วมงาน]]ระยะยาวย่อมไม่อยากเสียเวลาโต้เถียงประเด็นที่ตนพิจารณาว่าจบแล้ว
การชี้ความเห็นพ้องในอดีตก็เหมือนกับการลิงก์ไปยังนโยบายต่าง ๆ เป็นวิธีรับมือกับพฤติกรรม[[วิกิพีเดีย:เกรียน|เกรียน]]
ในนัยตรงกันข้าม ผู้ใช้ใหม่หรือผู้ร่วมงานแบบนาน ๆ มาทีหนึ่งก็มักจะรู้สึกว่ามุมมองของตนไม่ได้พิจารณาในการโต้เถียงครั้งก่อน ๆ และต้องการจะยกปัญหาเดิมขึ้นอีก
}}
งานศึกษาใช้ตัวอย่างการอภิปรายนี้เพื่อแสดงการต่อสู้ที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
เส้น 375 ⟶ 360:
* การระงับ[[วิกิพีเดีย:การก่อกวน|การก่อกวน]]วัดโดยการแก้ไข[[วิกิพีเดีย:รายชื่อการก่อกวน|รายชื่อการก่อกวน]]ก็ไม่มีผลเช่นกัน การแก้ไขทุก ๆ พันครั้งที่ใช้วิธีการย้อนโดยประการต่าง ๆ มีสหสัมพันธ์เชิงบวก (7%) กับตำแหน่งผู้ดูแลระหว่างปี 2006-2007 แต่ก็ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติยกเว้นถ้าจะลด[[ค่า p]] < .1 ที่น่าสับสนก็คือ ก่อนปี 2006 จำนวนการย้อนมีสหสัมพันธ์เชิงลบ (-6.8%) กับการได้ตำหน่ง และก็ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติแม้เมื่อค่า p < .1 นี่อาจเป็นเพราะการตั้งนโยบาย[[วิกิพีเดีย:สงครามแก้ไข#กฎย้อนสามครั้ง|กฎย้อนสามครั้ง]]ในปี 2006 เพื่อลดจำนวนการย้อน (คือการเพิ่มจำนวนการย้อนก่อนหน้ากฎย้อนสามครั้งอาจเป็นส่วนของสงครามแก้ไข แต่หลังจากนั้น อาจไม่ใช่)
 
งานศึกษาเสนอว่าความแปรผันของผลการได้ตำแแหน่ง{{nowrap |ร้อยละ 25}} ที่อธิบายไม่ได้อาจมาจากปัจจัยที่ไม่ได้วัด เช่น คุณภาพการแก้ไขหรือการร่วมมือประสานงานนอกเว็บไซต์ เช่น ใน[[บัญชีจ่าหน้า]]ลับที่รายงานใน[[เว็บไซต์]]ข่าวและความเห็น ''The Register''<ref>{{cite web | last = Metz | first = Cade | title = Secret mailing list rocks Wikipedia | url = https://www.theregister.co.uk/2007/12/04/wikipedia_secret_mailing | website = The Register | archiveurl = https://web.archive.org/web/20071204204534/http://www.theregister.co.uk/2007/12/04/wikipedia_secret_mailing/ | archivedate = 2007-12-04 | deadurlurl-status = nolive}}</ref>
งานศึกษาสรุปว่า
{{quote |
การสร้างข้อความจำนวนมากไม่พอให้ได้ "เลื่อนตำแหน่ง" ในวิกิพีเดีย การแก้ไขบทความของผู้ได้การเสนอชื่อเป็นตัวพยากรณ์ความสำเร็จที่ไม่ดี ผู้ได้การเสนอชื่อต้องแสดงพฤติกรรมเป็นผู้จัดการยิ่งขึ้น ประสบการณ์หลายหลากและการร่วมพัฒนานโยบายและโครงการวิกิเป็นตัวพยากรณ์ที่ดีกว่าในการได้ตำแหน่ง นี่สมกับสิ่งที่ได้เคยพบว่า วิกิพีเดียเป็น[[อำมาตยาธิปไตย]]/[[วิกิพีเดีย:วิกิพีเดียไม่ดีอย่างไร#ระบบข้าราชการ|ระบบข้าราชการ]]<ref name=buttler07/> และการประสานงานกันได้เพิ่มขึ้นอย่างสำคัญ<ref>
การสร้างข้อความจำนวนมากไม่พอให้ได้ "เลื่อนตำแหน่ง" ในวิกิพีเดีย
การแก้ไขบทความของผู้ได้การเสนอชื่อเป็นตัวพยากรณ์ความสำเร็จที่ไม่ดี
ผู้ได้การเสนอชื่อต้องแสดงพฤติกรรมเป็นผู้จัดการยิ่งขึ้น
ประสบการณ์หลายหลากและการร่วมพัฒนานโยบายและโครงการวิกิเป็นตัวพยากรณ์ที่ดีกว่าในการได้ตำแหน่ง
นี่สมกับสิ่งที่ได้เคยพบว่า วิกิพีเดียเป็น[[อำมาตยาธิปไตย]]/[[วิกิพีเดีย:วิกิพีเดียไม่ดีอย่างไร#ระบบข้าราชการ|ระบบข้าราชการ]]<ref name=buttler07/>
และการประสานงานกันได้เพิ่มขึ้นอย่างสำคัญ<ref>
{{cite book | author = Kittur, Aniket | author2 = Suh, Bongwon | author3 = Pendleton, Bryan A. | author4 = Chi, Ed H. | year = 2007 | title = He says, she says: conflict and coordination in Wikipedia | journal = Proceedings of the SIGCHI Conference on Human Factors in Computing | pages = 453-462 | doi = 10.1145/1240624.1240698 | isbn = 978-1-59593-593-9}}</ref><ref>
{{cite journal | author1 = Viegas, Fernanda B. | author2 = Wattenberg, Martin | author3 = Kriss, Jesse | author4 = van Ham, Frank | year = 2007 | title = Talk Before You Type: Coordination in Wikipedia | journal = 40th Annual Hawaii International Conference on System Sciences | pages = 575-582 | doi = 10.1109/HICSS.2007.511 | citeseerx = 10.1.1.210.1057}}</ref>
เส้น 394 ⟶ 374:
 
== วิกิพีเดียในการศึกษา ==
แม้ครูอาจารย์จะไม่ค่อยเต็มใจให้ใช้วิกิพีเดียเป็นส่วนของการบ้าน แต่ก็พบว่านักเรียนนักศึกษาที่แก้ไขวิกิพีเดีย (ในงานวิจัยเป็น[[วิกิพีเดียภาษาฮีบรู]]) สนใจในการเรียนเพิ่ม ได้ผลงานเพิ่ม ปรับปรุงการเรียนและการพัฒนาตน และเพิ่มทำงานร่วมกับคนทั้งในพื้นที่และในระดับนานาประเทศ<ref>{{Cite journal | last = Hertz | first = Tehila | date = 2018 | title = Wikishtetl: Commemorating Jewish Communities that Perished in the Holocaust through the Wikipedia Platform | url = http://www.quest-cdecjournal.it/focus.php?id=403 | journal = Quest | volume = 13 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20200711080416/http://www.quest-cdecjournal.it/focus.php?id=403 | archivedate = 2020-07-11 | deadurlurl-status = nolive }}</ref>
 
== การเรียนรู้ของเครื่อง ==
เส้น 400 ⟶ 380:
ดีบีพิเดีย<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
'''ดีบีพิเดีย''' (DBpedia, "DB" ย่อมาจากคำว่า database คือ[[ฐานข้อมูล]]) เป็นโครงการสกัดเนื้อหาที่มีโครงสร้างจากข้อมูลวิกิพีเดีย
โดยเข้าถึงได้ผ่าน[[เวิลด์ไวด์เว็บ]]<ref>{{Cite journal | doi = 10.1016/j.websem.2009.07.002 | title = DBpedia - A crystallization point for the Web of Data | year = 2009 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20170810035101/http://www.wiwiss.fu-berlin.de/en/fachbereich/bwl/pwo/bizer/research/publications/Bizer-etal-DBpedia-CrystallizationPoint-JWS-Preprint.pdf | archivedate = 2017-08-10 | deadurlurl-status = yesdead | url = http://www.wiwiss.fu-berlin.de/en/fachbereich/bwl/pwo/bizer/research/publications/Bizer-etal-DBpedia-CrystallizationPoint-JWS-Preprint.pdf }}<!-- Bizer, Christian; Lehmann, Jens; Kobilarov, Georgi; Auer, Soren; Becker, Christian; Cyganiak, Richard; Hellmann, Sebastian (September 2009). "DBpedia - A crystallization point for the Web of Data" (PDF). Web Semantics: Science, Services and Agents on the World Wide Web. 7 (3): 154-165. CiteSeerX 10.1.1.150.4898. doi:10.1016/j.websem.2009.07.002. ISSN 1570-8268. Archived from the original (PDF) on 10 August 2017. Retrieved 11 December 2015. --></ref>
ซึ่งช่วยให้[[ผู้ใช้ (ระบบ)|ผู้ใช้]]สามารถสอบความสัมพันธ์และลักษณะต่าง ๆ ของทรัพยากรวิกิพีเดีย รวมทั้ง[[ไฮเปอร์ลิงก์|ลิงก์]]ไปยังชุดข้อมูลอื่น ๆ<ref>{{cite web | title = Komplett verlinkt — Linked Data | date = 2009-06-19 | language = [[ภาษาเยอรมัน]] | url = http://www.3sat.de/dynamic/sitegen/bin/sitegen.php?tab=2&source=/neues/sendungen/magazin/135119/index.html | archiveurl = https://archive.today/20130106124818/http://www.3sat.de/dynamic/sitegen/bin/sitegen.php?tab=2&source=/neues/sendungen/magazin/135119/index.html | archivedate = 2013-01-06 | deadurlurl-status = yesdead | publisher = 3sat.de | accessdate = 2009-11-10 }}</ref>
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->ได้ใช้เนื้อหามีโครงสร้าง (structured content) ที่ดึงมาจาก[[วิธีใช้:กล่องข้อมูล|กล่องข้อมูล]]ของวิกิพีเดียภาษาต่าง ๆ ด้วยขั้นตอนวิธี[[การเรียนรู้ของเครื่อง]]เพื่อสร้างทรัพยากรเป็นข้อมูลลิงก์ (linked data) ภายใน[[เว็บเชิงความหมาย]]<ref>{{cite book | title = A Developer's Guide to the Semantic Web | last = Yu | first = Liyang | publisher = Springer | year = 2011 | isbn = 978-3-642-15969-5 | doi = 10.1007/978-3-642-15970-1}}</ref>
 
เส้น 408 ⟶ 388:
นักวิชาการผู้หนึ่งจากสถาบันอินเทอร์เน็ตแห่งออกซฟอร์ด ({{abbr |OII| Oxford Internet Institute }}) และผู้ร่วมงานจากมหาวิทยาลัยเซนทรัลยุโรเปียน ({{abbr |CEU| Central European University }}) ได้แสดงว่า สถิติการดูหน้าเกี่ยวกับ[[ภาพยนตร์]]มี[[สหสัมพันธ์]]ที่ดีกับรายได้ภาพยนตร์
พวกเขาได้พัฒนา[[แบบจำลองคณิตศาสตร์]]ที่พยากรณ์รายได้ภาพยนตร์โดยวิเคราะห์จำนวนดูหน้าบวกกับจำนวนการแก้ไขและจำนวนผู้แก้ไข (เป็นเอกบุคคล) หน้าเกี่ยวกับภาพยนตร์
แม้แบบจำลองนี้จะได้พัฒนาโดยใช้ข้อมูลของวิกิพีเดียอังกฤษ แต่วิธีการที่ใช้เป็นอิสระจากภาษา จึงสามารถใช้กับภาษาอื่น ๆ และใช้กับ[[ผลิตภัณฑ์]]อื่น ๆ นอกเหนือจากภาพยนตร์<ref>{{cite web | url = https://www.theguardian.com/science/2012/nov/08/wikipedia-buzz-blockbuster-movies-takings | title = Wikipedia buzz predicts blockbuster movies' takings weeks before release | work = The Guardian | date = 2012-11-08 | accessdate = 2013-09-02 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20190417224405/https://www.theguardian.com/science/2012/nov/08/wikipedia-buzz-blockbuster-movies-takings | archivedate = 2019-04-17 | deadurlurl-status = nolive}}</ref>
 
ในงานศึกษาอีกงานหนึ่งที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ ''Scientific Reports'' ในปี 2013<ref>{{cite journal | authors = Moat, Helen Susannah; Curme, Chester; Avakian, Adam; Kenett, Dror Y; Stanley, H Eugene; Preis, Tobias | title = Quantifying Wikipedia Usage Patterns Before Stock Market Moves | journal = Scientific Reports | volume = 3 | pages = 1801 | year = 2013 <!-- | accessdate = 2013-08-09 --> | doi = 10.1038/srep01801 | bibcode = 2013NatSR...3E1801M | pmc = 3647164 }}</ref>
ทีมนักวิชาการได้แสดงว่า การเปลี่ยนแปลงจำนวนการดูหน้าบทความวิกิพีเดียอังกฤษเกี่ยวกับการเงินสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ใน[[ตลาดหลักทรัพย์]]สหรัฐ<ref>
{{cite web | url = http://www.ft.com/intl/cms/s/0/97170c1a-b96f-11e2-9a9f-00144feabdc0.html | title = Wikipedia's crystal ball | work = Financial Times | date = 2013-05-10 | accessdate = 2013-08-10}}</ref><ref>
{{cite web | url = https://www.wired.co.uk/article/wikipedia-views-stock-market | title = Wikipedia page views could predict stock market changes | work = Wired.com | author = Shubber, Kadhim | date = 2013-05-08 | accessdate = 2013-08-10 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20200623074705/https://www.wired.co.uk/article/wikipedia-views-stock-market | archivedate = 2020-06-23 | deadurlurl-status = nolive}}</ref>
 
== เชิงอรรถ ==
เส้น 427 ⟶ 407:
* {{cite book | last = Blumenstock | first = J. E. | year = 2008 | chapter = Size matters: word count as a measure of quality on Wikipedia | title = Proceedings of the 17th international conference on World Wide Web | pages = 1095-1096 | publisher = ACM | location = New York | isbn = 978-1-60558-085-2 | doi = 10.1145/1367497.1367673}}
* {{cite book | last1 = Bryant | first1 = S. L. | last2 = Forte | first2 = A. | last3 = Bruckman | first3 = A. | year = 2005 | chapter = Becoming Wikipedian: transformation of participation in a collaborative online encyclopedia | title = GROUP '05 Proceedings of the 2005 international ACM SIGGROUP conference on Supporting group work | publisher = ACM | location = New York | isbn = 978-1-59593-223-5 | doi = 10.1145/1099203.1099205}}
* {{cite journal | last = Farrell | first = H. | last2 = Schwartzberg | first2 = M. | date = 2008 | title = Norms, Minorities, and Collective Choice Online | journal = Ethics & International Affairs | volume = 22 | issue = 4 | pages = 357-367 | url = http://www.cceia.org/resources/journal/22_4/essays/002.html | accessdate = 2009-02-03 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20090120200727/http://www.cceia.org/resources/journal/22_4/essays/002.html | archivedate = 2009-01-20 | deadurlurl-status = yesdead | doi = 10.1111/j.1747-7093.2008.00171.x }}
* {{cite book | last1 = Hu | first1 = M. | last2 = Lim | first2 = E.-P. | last3 = Sun | first3 = A. | last4 = Lauw | first4 = H. W. | last5 = Vuong | first5 = B.-Q. | year = 2007 | chapter = Measuring article quality in Wikipedia: models and evaluation | title = Proceedings of the sixteenth ACM conference on Conference on information and knowledge management | publisher = ACM | location = New York | isbn = 978-1-59593-803-9 | doi = 10.1145/1321440.1321476}}
* {{cite journal | last = Jensen | first = Richard | year = 2012 | title = Military History on the Electronic Frontier: Wikipedia Fights the War of 1812 | url = http://www.americanhistoryprojects.com/downloads/JMH1812.PDF | journal = Journal of Military History | volume = 76 | issue = 4 | pages = 523-556 }}
เส้น 434 ⟶ 414:
* {{cite journal | last1 = Luyt | first1 = B. | last2 = Aaron | first2 = T. C. H. | last3 = Thian | first3 = L. H. | last4 = Hong | first4 = C. K. | year = 2008 | title = Improving Wikipedia's accuracy: Is edit age a solution? | journal = Journal of the American Society for Information Science and Technology | volume = 59 | issue = 2 | pages = 318-330 | doi = 10.1002/asi.20755}}
* {{cite arXiv | last1 = Medelyan | first1 = O. | last2 = Milne | first2 = D. | last3 = Legg | first3 = C. | last4 = Witten | first4 = I. H. | year = 2008 | title = Mining Meaning from Wikipedia | eprint = 0809.4530 | class = cs.AI}}
* {{cite journal | last = Park | first = T. K. | year = 2011 | title = The visibility of Wikipedia in scholarly publications | url = http://firstmonday.org/htbin/cgiwrap/bin/ojs/index.php/fm/article/viewArticle/3492/3031 | journal = First Monday | volume = 16 | issue = 8 | doi = 10.5210/fm.v16i8.3492 | hdl = 2022/21757 | hdl-access = free | access-date = 2011-08-09 | archive-url = https://web.archive.org/web/20120404164843/http://firstmonday.org/htbin/cgiwrap/bin/ojs/index.php/fm/article/viewArticle/3492/3031 | archive-date = 2012-04-04 | deadurlurl-status = yesdead }}
* {{cite journal | last = van Pinxteren | first = B. | year = 2017 | title = African Languages in Wikipedia - A Glass Half Full or Half Empty? | ssrn = 2939146 | journal = Political Economy - Development: Comparative Regional Economies eJournal | volume = 5 | issue = 12}}
* {{cite book | first = Emiel | last = Rijshouwer | date = 2019 | title = Organizing Democracy. Power concentration and self-organization in the evolution of Wikipedia | location = Rotterdam | publisher = Erasmus University Rotterdam | edition = dissertation | hdl = 1765/113937 | oclc = 1081174169 | hdl-access = free }}