ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามอะเมซิ่งพาร์ค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tondeknoi1802 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Maple Love Sweet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Distinguish2|[[สยามปาร์ค]] สวนน้ำที่[[เกาะเตเนริเฟ]]}}
{{Infobox amusement park
| name = สยามอะเมซิ่งพาร์กพาร์ค
| image = [[ไฟล์:Original siam3.jpg|200px]]
| caption = สไลเดอร์ยักษ์ในดินแดนวอเตอร์เวิลด์
| resort =
| location = [[เขตคันนายาว|คันนายาว]]
| location2 = [[กรุงเทพมหานคร]]
| location3 = [[ประเทศไทย]]
| coordinates =
บรรทัด 13:
| owner =
| general_manager =
| operator = บริษัท สยามพาร์กพาร์ค บางกอก จำกัด
| opening_date = {{Start date and age|1980|11}}
| closing_date =
บรรทัด 28:
}}
 
'''สยามอะเมซิ่งพาร์ค''' ({{lang-en|Siam Amazing Park}}, ชื่อเดิม: '''สวนสยาม''';{{lang-en|Siam Park City}}) เป็น[[สวนสนุก]]และ[[สระว่ายน้ำ|สวนน้ำ]] ตั้งอยู่ที่[[ถนนสวนสยาม]] แขวงคันนายาว [[เขตคันนายาว]] บนเนื้อที่ 300 ไร่ มีจุดเด่นที่ภายในโครงการมีทะเลเทียมขนาดใหญ่ อันเป็นที่มาของฉายาว่า "ทะเลกรุงเทพ" โดยทะเลเทียมแห่งนี้เป็นทะเลเทียมที่ใหญ่ที่สุดในโลกโดยการรับรองของ[[บันทึกสถิติโลกกินเนสส์]]
 
สยามอะเมซิ่งพาร์ค ในชื่อเดิมคือสวนสยามเปิดดำเนินการมาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนปี [[พ.ศ. 2523]] ดำเนินงานโดย บริษัท อมรพันธ์นคร-สวนสยาม จำกัด โดย นาย[[ไชยวัฒน์ เหลืองอมรเลิศ]] เป็น ประธานกรรมการ แรกเริ่มมีเพียง[[สวนน้ำ]]ภายหลังจึงได้ซื้อเครื่องเล่นเดิมจากสวนสนุก[[แฮปปี้แลนด์]]ที่ได้ปิดกิจการมาให้เปิดบริการ สวนสยามจึงเป็นทั้งสวนน้ำและ[[สวนสนุก]]ที่ใหญ่ที่สุดของ[[ประเทศไทย]] นอกจากนี้ยังมีรางน้ำวน สปา พร้อมเครื่องเล่นทางน้ำครบครัน [[สไลเดอร์]]ที่สูงเท่ากับตึก 7 ชั้น ซูเปอร์สไปรัลรางน้ำคดเคี้ยว รถไฟเหาะวอร์เท็กซ์ รถไฟเหาะบูมเมอแรง และเครื่องเล่นอื่นๆอื่น ๆ อีกเกือบ 40 ชนิด
 
== ภายในสยามอะเมซิ่งพาร์ค ==
บรรทัด 65:
พ.ศ. 2528 เคยใช้เป็นสถานที่จัดการประกวด[[นางสาวไทย]]รอบตัดสิน
 
[[พ.ศ. 2550]] เกิดอุบัติเหตุกับเครื่องเล่น อินเดียน่าล็อก เมื่อวันที่ [[23 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2550]] ทำให้มีผู้เสียชีวิต และ วันที่ [[12 มกราคม]] [[พ.ศ. 2551]] เกิดเหตุกับซูเปอร์สไปรัล ทำให้มีผู้บาดเจ็บ 28 ราย ทางเจ้าของจึงประกาศขายกิจการแต่มีหลายฝ่ายให้กำลังใจและขอร้องอย่าขายเจ้าของจึงตัดสินใจบริหาร สวนสยามต่อไป<ref>http://www.bangkokbiznews.com/2008/01/14/WW10_WW10_news.php?newsid=219951</ref>
 
[[พ.ศ. 2552]] เมื่อวันที่ [[30 เมษายน]] [[พ.ศ. 2552]] ที่สยามพาร์คซิตี้ สวนสยาม กินเนสส์ เวิลด์ เร็คคอร์ด ร่วมกับสมาคมสวนน้ำโลก มอบรางวัลหนังสือรับรอง "ทะเลเทียมที่ใหญ่ที่สุดในโลก" ให้แก่ ทะเล-กรุงเทพฯ สวนสยาม โดยมีนายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ ประธานกรรมการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็นประธานรับมอบ นายไชยวัฒน์ เหลืองอมรเลิศ ที่ปรึกษาบริษัท สยามพาร์คซิตี้ จำกัด กล่าวว่า ดีใจที่สุด 29 ปีที่ผ่านมาหายเหนื่อยแล้ว ด้านนายทาลาล โอมาร์ ผู้แทนจากกินเนสส์ เวิลด์ เร็คคอร์ด กล่าวว่า แต่ละสัปดาห์มีผู้เสนอเรื่องราวให้บันทึกสถิติโลกถึง 1 พันรายการ รางวัลนี้เป็นแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ทะเลเทียมของไทยใหญ่ที่สุดในโลก ทั้งนี้ ทะเล-กรุงเทพฯ สวนสยาม มีขนาด 13,600 ตร.ม. รองรับผู้ใช้บริการได้พร้อมกัน 13,000 คน ส่วนเจ้าของสถิติทะเลเทียมที่ใหญ่ที่สุดในโลกเดิมคือ ดีโน่ พาร์ค นครเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน มีขนาด 6,053 ตร.ม. รองลงมาคือ สวนน้ำดิสนีย์ เมืองออร์ลันโด ฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ขนาด 4,220 ตร.ม.<ref>http://www.moneychannel.co.th/Menu6/MoneylineNews/tabid/89/newsid491/87552/Default.aspx</ref>
 
[[พ.ศ. 2553]] วันที่ 19 พฤศจิกายน - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2553 สยามพาร์คซิตี้ สวนสยาม ได้ จัดงานฉลองครบรอบเปิดกิจการ 30 ปี จัดโปรโมชั่นพิเศษ ซื้อบัตร ครั้งเดียวเที่ยวฟรีตลอดวัน ผู้ใหญ่ 300 บาท เด็ก 100 บาท <ref>http://www.thairath.co.th/content/ent/131219</ref>นับว่าเป็นสวนสนุกและสวนน้ำที่มีอายุมากที่สุดในประเทศไทยที่เปิดดำเนินการอยู่จนถึงปัจจุบัน
 
พ.ศ. 2562 สวนสยามประกาศปิดปรับปรุงใหญ่บางส่วน พร้อมกับเปลี่ยนชื่อโครงการเป็น '''สยามอะเมซิ่งพาร์ก''' ภายใต้การบริหารของทายาทรุ่นที่สองคือ สิทธิศักดิ์ เหลืองอมรเลิศ, วุฒิชัย เหลืองอมรเลิศ และจิรวรรณ ดิศกุล ณ อยุธยา โดยมีการปรับภาพลักษณ์ให้ดูทันสมัยและสดใสมากขึ้น มีการปรับปรุงเครื่องเล่นให้ใช้งานได้ตามปกติ ปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรวมของโครงการ และก่อสร้างส่วนขยายบริเวณด้านหน้าโครงการ ภายใต้การควบคุมและดูแลของ Spikeband บริษัทที่ปรึกษาชั้นนำของโลกที่เป็นผู้พัฒนาสวนสนุกโตเกียวดิสนีย์แลนด์ ที่ประเทศญี่ปุ่น<ref>[https://brandinside.asia/siam-park-city-rebrand-siam-amazing-park/ ปิดตำนาน 39 ปี “สวนสยาม” เปลี่ยนชื่อ “Siam Amazing Park” ทรานส์ฟอร์มสู่ยุค Gen 2]</ref> และยังเป็นการปรับปรุงเพื่อรองรับการเปิดให้บริการของ[[รถไฟฟ้าสายสีชมพู]] และ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม|รถไฟฟ้าสายสีส้ม]] โดยการปรับปรุงจะแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2564 พร้อม ๆ กับการเปิดให้บริการของรถไฟฟ้าสายสีชมพู<ref>[https://www.trjournalnews.com/3040 ‘สวนสยาม’ รับรถไฟฟ้า 2 สาย อัดงบ 3 พันล้าน ปั้น!! ‘บางกอกเวิลด์’]</ref>