ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ร.10
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Wiki13 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 171.4.223.180 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Wiki13
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 104:
</gallery>
 
== การขอพระราชทาน ==
รอแก้ไข
 
การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลมงกุฎไทยนี้ กำหนดให้พิจารณาถึงตำแหน่ง ระดับ ชั้น ชั้นยศ กำหนดระยะเวลา และความดีความชอบ ตาม[[ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี]] ว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536 การขอพระราชทานในครั้งแรกในกรณีข้าราชการ จะต้องรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ นับแต่วันเริ่มเข้ารับราชการจนถึง 60 วันก่อนวันเฉลิมพระชนมพรรษา โดยให้เริ่มจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย และ[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก]]สลับกัน ดังนี้
 
# ชั้นที่ 7 '''เหรียญเงินมงกุฎไทย'''
# ชั้นที่ 7 เหรียญเงินช้างเผือก
# ชั้นที่ 6 '''เหรียญทองมงกุฎไทย'''
# ชั้นที่ 6 เหรียญทองช้างเผือก
[[ไฟล์:พระราชลัญจกร-มงกุฎสยาม.jpg|thumb|พระราชลัญจกรประจำเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎสยาม / มงกุฎไทย]]
'''ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย''' ในกรณีข้าราชการเริ่มที่
# ชั้นที่ 5 '''เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย'''
# ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก
# ชั้นที่ 4 '''จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย'''
# ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก
# ชั้นที่ 3 '''ตริตาภรณ์มงกุฎไทย'''
# ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก
# ชั้นที่ 2 '''ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย'''
# ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก
'''ชั้นสายสะพาย''' หรือ ข้าราชการที่มีบรรดาศักดิ์ สามารถขอรับพระราชทาน[[พระโกศ|โกศ]]ประดับเมื่อสิ้นชีวิต
# ชั้นที่ 1 '''ประถมาภรณ์มงกุฎไทย''' (สายสะพาย 1)
# ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (สายสะพาย 2)
# ชั้นสูงสุด '''มหาวชิรมงกุฎ''' (สายสะพาย 3)
# ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (สายสะพาย 4)
 
== การพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่ง ==