ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุทิน ชาญวีรกูล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ice 4402 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tititham Sukhaya Art (คุย | ส่วนร่วม)
เขาเกิดที่ กทม.
บรรทัด 43:
| footnotes =
}}
'''นายอนุทิน ชาญวีรกูล''' (เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2509) รองนายกรัฐมนตรี และ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย|รัฐมนตรีว่าการ]][[กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)|กระทรวงสาธารณสุข]] เป็นกรรมการ[[ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)]] ในรัฐบาลพลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] หัวหน้า[[พรรคภูมิใจไทย]] กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00154678.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี]</ref> เป็นนักการเมืองที่เคย[[บ้านเลขที่ 111|ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี]] เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารของ[[พรรคไทยรักไทย]] ซึ่งถูก[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549|ยุบในปี พ.ศ. 2549]]
 
== ประวัติ ==
อนุทิน ชาญวีรกูลเขาเกิดที่[[กรุงเทพมหานคร]] มี[[ชื่อเล่น]]ว่า "หนู" ชื่อที่สื่อมวลชนเรียก​นิยมเรียกกัน​ว่า "เสี่ยหนู" เป็นบุตรคนโตของนาย[[ชวรัตน์ ชาญวีรกูล]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนาย[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] และผู้ก่อตั้ง บมจ.[[ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น]] อนุทินสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] และระดับอุดมศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย Hofstra ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2532 และจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Mini MBA) เมื่อปี พ.ศ. 2533 <ref> https://www.thaigov.go.th/aboutus/cabinet/detail/238</ref>
 
ชีวิตส่วนตัว [[สมรส]]ครั้งแรกกับสนองนุช (สกุลเดิม วัฒนวรางกูร) เมื่อปี พ.ศ. 2533 มีบุตร 2 คน คือ นัยน์ภัค และเศรณี ชาญวีรกูล ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 อนุทินได้หย่ากับสนองนุช และสมรสใหม่กับศศิธร (สกุลเดิม จันทรสมบูรณ์) รองกรรมการผู้จัดการ แรนโช ชาญวีร์ รีสอร์ท แอนด์ คันทรีคลับ ปากช่อง<ref>[https://mgronline.com/celebonline/detail/9560000158656 คู่รักคู่ร้าง ขาเตียงแยกแอบแซบเวอร์ ปิดฉากรักฉบับไฮโซ]</ref><ref>[https://www.thairath.co.th/content/370921 อนุทินรักจริงแต่งใหม่]</ref> ต่อมาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 อนุทินได้หย่ากับศศิธร<ref name="properties">[https://www.isranews.org/isranews-scoop/79662-isranews-79662.html ส่องทรัพย์สิน‘เสี่ยหนู-อนุทิน’จ่ายค่าหย่า‘ภรรยา’50 ล.-พอร์ตหุ้นซิโน-ไทยฯ 1.7 พันล.]</ref> อนุทินมีความชื่นชอบส่วนตัวคือ สะสม[[พระเครื่อง]]<ref>http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1379594867&grpid=01&catid=&subcatid=</ref>
 
== การทำงาน ==
นายอนุทิน ชาญวีรกุล เขาเคยทำงานในตำแหน่ง[[วิศวกร]]ในบริษัทเอกชนอยู่หลายแห่ง รวมทั้งตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) ของนาย[[ชวรัตน์ ชาญวีรกูล]] ผู้เป็นบิดา ซึ่งเป็นนายทุนให้กับพรรคการเมืองหลายพรรค เช่น [[พรรคชาติพัฒนา]] [[พรรคไทยรักไทย]] และ[[พรรคภูมิใจไทย]]
== การเมือง ==
พ.ศ. 2539 เข้าสู่วงการการเมืองโดยการรับตำแหน่ง ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ([[ประจวบ ไชยสาส์น]]) และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2548) และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (พ.ศ. 2547) ต่อมาถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารของ[[พรรคไทยรักไทย]]
 
นายอนุทิน เขาได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคภูมิใจไทย ในปี พ.ศ. 2555 หลังจากพ้นกำหนดการตัดสิทธิทางการเมือง และได้รับเลือกตั้งเป็นหัวหน้า[[พรรคภูมิใจไทย]] เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2555<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/D/148/64.PDF ประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง ตอบรับการเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการบริหารพรรคภูมิใจไทย (จำนวน ๙ ราย)]</ref>
 
ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557]] เขาได้สมัครรับเลือกตั้งในระบบบัญชีรายชื่อ สังกัด[[พรรคภูมิใจไทย]] ลำดับที่ 1<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/010/31.PDF ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (พรรคชาติพัฒนา)]</ref> แต่การเลือกตั้งเป็นโมฆะ
บรรทัด 61:
ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562]] เขาได้รับเลือกตั้งในระบบบัญชีรายชื่อ<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/062/T_0010.PDF ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ]</ref> สังกัด[[พรรคภูมิใจไทย]] ลำดับที่ 1 และได้รับการเสนอชื่อให้เป็นบุคคลที่พรรคการเมืองจะเสนอชื่อต่อรัฐสภาให้เป็นนายกรัฐมนตรี
 
หลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562 นายอนุทิน และพรรคภูมิใจไทย ได้เข้าร่วมกับ[[พรรคพลังประชารัฐ]] จัดตั้งรัฐบาล โดยนายอนุทิน เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
 
== กระแสวิพากษ์วิจารณ์ ==
บรรทัด 92:
[[หมวดหมู่:พรรคไทยรักไทย]]
[[หมวดหมู่:พรรคภูมิใจไทย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนอัสสัมชัญ]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง]]