ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บิ๊กซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonpun2016 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8952532 สร้างโดย Poonpun2016 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Poonpun2016 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ล้าสมัย}}
{{Infobox Company
| company_name = บิ๊กซี <br> Big C
เส้น 5 ⟶ 4:
| company_type = [[บริษัทมหาชน]]
| company_slogan = ห้างคนไทย หัวใจคือลูกค้า
| foundation= [[พ.ศ. 2536]]
| location = {{flagicon|Thailand}} 99/17 [[ถนนราชดำริ]] [[แขวงลุมพินี]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]], [[ประเทศไทย]]
| area_served = {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย|ไทย]]<br/>{{flagicon|Vietnam}} [[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]]<br/>{{flagicon|Laos}} [[ประเทศลาว|ลาว]]<br/>
{{flagicon|Cambodia}} [[ประเทศกัมพูชา|กัมพูชา]]
| key_people = [[เจริญ สิริวัฒนภักดี]] ('''ประธานกรรมการ''') <br/> [[อัศวิน เตชะเจริญวิกุล]] ('''ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่''')
| num_employees = 2629,209 คน394<br> (สิ้นสุดข้อมูลในปี 31 ธ.. 25562559)<ref name=รายงาน2559/>
| industry = [[ศูนย์การค้า]]
| revenue = {{profit}} [[บาท|฿]] 130120,970.69918 [[1000000000 |พันล้าน]][[บาท]] <br> (2013ข้อมูลในปี พ.ศ. 2559)<brref name=รายงาน2559/>
| net_income = {{profit}} [[บาท|฿]] 6,975.58372 [[1000000|ล้าน]][[บาท]] <br> (2013ข้อมูลในปี พ.ศ. 2559)<brref name=รายงาน2559/>
| parent = [[กลุ่มทีซีซี]] ([[ไทย]], [[ลาว]])<br>[[กลุ่มเซ็นทรัล]], [[ออฟฟิศเมท]] ([[เวียดนาม]],[[ไทย]]บางสาขา)
| owner = บริษัท [[เบอร์ลี่ ยุคเกอร์]] จำกัด (มหาชน)<br>บริษัท [[เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชัน]] จำกัด (มหาชน) (เฉพาะสาขาในเซ็นทรัลและประเทศเวียดนาม)
| products = ศูนย์การค้า, ซูเปอร์มาร์เก็ต, ไฮเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ทร้านสะดวกซื้อ
| homepage = http://www.bigc.co.th
| references = <ref name=รายงาน2559/>
}}
[[ไฟล์:BIG C PATHUM.jpg|thumb|250px|บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาปทุมธานี]]
 
'''บิ๊กซี''' ({{lang-en|Big C}}) เป็น[[ศูนย์การค้า]]และ[[ห้างสรรพสินค้า]]ประเภท[[ไฮเปอร์มาร์เก็ต]], [[ซูเปอร์มาร์เก็ต]] และ[[ร้านสะดวก]]ซื้อสัญชาติไทย ดำเนินกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคใน[[ประเทศไทย]] [[ประเทศลาว|ลาว]] [[ประเทศกัมพูชา|กัมพูชา]]และ[[ประเทศลาว|เวียดนาม]] บริษัทฯ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2536 และเปิดให้บริการสาขาแรกบน[[ถนนแจ้งวัฒนะ]] เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2537 ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม[[เบอร์ลี่ ยุคเกอร์]] (BJC) ภายใต้[[กลุ่มทีซีซี]]
'''บิ๊กซี''' ({{lang-en|Big C}}) ชื่อเต็ม '''บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด ''' ({{lang-en|BIG C SUPERCENTER COMPANY LIMITED}} ชื่อย่อ:BIGC) เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค ในรูปแบบร้านไฮเปอร์มาร์ทขนาดใหญ่ชื่อ '''บิ๊กซี (Big C)''' มีสาขาอยู่ทั่ว[[ประเทศไทย]] [[ประเทศลาว|ลาว]] (ยังไม่เปิดบริการ) กัมพูชาและ[[ประเทศลาว|เวียดนาม]] โดยข้อมูลในปี พ.ศ. 2554 หลังจากควบรวมกิจการของคาร์ฟูร์ในประเทศไทย (บริษัท เซ็นคาร์ จำกัด) เข้ามา ทำให้บิ๊กซี มีสาขาทั้งหมด 122 สาขาในประเทศไทย และในปัจจุบันมีสาขาทั้งหมด 185 สาขาแบ่งออกเป็นบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 133 สาขา, บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 16 สาขา และบิ๊กซี มาร์เก็ต 33 สาขา สำหรับสาขาต่างประเทศ ได้เปิดให้บริการที่ปอยเปต ในปี พ.ศ. 2562 ซึ่งเป็นสาขาแรกในประเทศกัมพูชา สำหรับประเทศเวียดนามอยู่ภายใต้การดูแลของ [[เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น]] เปิดให้บริการแล้ว 35 สาขาทั่วประเทศ และประเทศลาวเปิดให้บริการในรูปแบบ Mini Big C ซึ่งบางสาขาปรับปรุงมาจากแบรนด์ M-Point Mart ในปี พ.ศ. 2562
 
== ประวัติ ==
บิ๊กซี เกิดจากการร่วมทุนกันระหว่าง[[กลุ่มเซ็นทรัล]]กับกลุ่มอิมพีเรียล ของตระกูลกิจเลิศไพโรจน์ เปิดบริษัทในนาม บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2536<ref> [https://datawarehouse.dbd.go.th/company/profile/7/0107536000633 ข้อมูลนิติบุคคล : บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)] แหล่งค้นหาข้อมูลนิติบุคคล และประเภทธุรกิจในประเทศไทย กรมพัฒนาธุรกิจการค้า สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref><ref>[https://sam.ocpb.go.th/CerIdent/Index/430?Compname=%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B9%8A%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94%28%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%99%29&Param=oahadWLjJudVglsqiUIubkI%2FTHPptR7pnIXB7WjxRD%2Fqt06NfgBemqLlcqrfTYUWiRImpX2%2BInUxGvXM9QcVqZGmHM99VTzdiw9Wn0MEZ5kP7KoruFNAIWw4UAatYLBhoYsQZrpd6Hc%2FfjqhcoxTv%2F7GsdLM%2BtiSj33PYu1rBZo%3D ข้อมูลการจดทะเบียนการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)] เว็บไซค์สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู็บริโภค สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>{{efn|ข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค กล่าวว่า บริษัทฯ จดทะเบียนในวันดังกล่าว แต่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระบุว่า บริษัทฯ ทำการซื้อขายหุ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535}} และเปิดให้บริการ[[ไฮเปอร์มาร์เก็ต]]สาขาแรกในนาม '''บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์''' บน[[ถนนแจ้งวัฒนะ]] [[เขตหลักสี่]] [[กรุงเทพมหานคร]] ในวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2537<ref>[https://web.archive.org/web/20140401000000*/https://corporate.bigc.co.th/ ข้อมูลบิ๊กซี สาจาแจ้งวัฒนะ] bigc.co.th ผ่านทาง web.archive.org สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref> ซึ่งเป็นรูปแบบการค้าปลีกแบบใหม่ในประเทศไทยในขณะนั้น และเปิดให้บริการอีก 19 สาขาในทั่วประเทศหลังจากนั้น แต่ผลจาก[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540]] ทำให้บิ๊กซีตัดสินใจหยุดขยายสาขา หลังเปิดให้บริการสาขาที่ 20 ที่[[เพชรบุรี]] ไปเมื่อปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2541 เนื่องจากประสบปัญหาการขาดทุนจากผลของภาระดอกเบี้ยเงินกู้ที่ได้นำมาใช้ในการขยายสาขา ระหว่างนั้นจึงพยายามแสวงหากลุ่มทุนเข้ามาช่วยเหลือ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2542<ref name=BigC>[https://mgronline.com/columnist/detail/9630000007743 ย้อนตำนาน 27 ปี “บิ๊กซี” แจ้งเกิดกลุ่มเซ็นทรัล ปัจจุบันอยู่ในมือเสี่ยเจริญ] 24 มกราคม พ.ศ. 2563 เขียนโดย กิตตินันท์ นาคทอง สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref> [[กลุ่มคาสิโน]] ผู้ประกอบการค้าปลีกสัญชาติ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] ได้เข้าซื้อหุ้นของบริษัทจำนวน 530 ล้านหุ้น และกลายเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสัดส่วน 66% บิ๊กซีจึงกลายเป็นค้าปลีกต่างชาติ เช่นเดียวกับ [[เทสโก้ โลตัส]] และ [[คาร์ฟูร์]] ในขณะนั้นโดยสมบูรณ์<ref>[https://web.archive.org/web/20050325201334/http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=3141 BIG C เติบโตภายใต้ทักษะของ CASINO] นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2545 ผ่านทาง web.archive.org เขียนโดย สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>ในปี พ.ศ. 2545 บิ๊กซีได้มีการจัดตั้งมูลนิธิบิ๊กซีไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้โอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ด้อยโอกาส โดยในปี พ.ศ. 2559 มูลนิธิได้ให้ความช่วยเหลือเยาวชนไทยเป็นจำนวนเงินรวมนับตั้งแต่ก่อตั้งกว่า 350 ล้านบาท มีการสร้างอาคารเรียนให้กับโรงเรียนมาแล้ว 44 หลัง การให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนกว่า 42,000 ทุน และการส่งเสริมการศึกษาด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง, ในปี พ.ศ. 2551 บิ๊กซีได้เริ่มขยายกิจการจากการค้าปลีกในรูปแบบไฮเปอร์มาร์เก็ตออกสู่ตลาด[[ร้านสะดวกซื้อ]]และ[[ร้านขายยา]] ภายใต้ชื่อ '''มินิบิ๊กซี''' และ '''เพรียว''' ตามลำดับ<ref>{{cite web|url=https://market.sec.or.th/public/IDISC/Download?FILEID=dat/f56/f0280t08.zip|title=รายงานประจำปี บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2551}} ไฟล์ PDF สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref> ในปี พ.ศ 2553 บิ๊กซี ได้เปิดร้าน[[ซูเปอร์มาร์เก็ต]]ภายใต้ชื่อ '''บิ๊กซี จูเนียร์''' สาขาแรกที่ศูนย์การค้า[[ทวีกิจ]] คอมเพล็กซ์ สระบุรี เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม<ref name=BigC/> ในปี พ.ศ. 2561 บิ๊กซี ยังได้เปิดซูเปอร์มาร์เก็ตในรูปแบบ '''บิ๊กซี ฟู้ดเพลส''' สาขาแรกที่[[เกทเวย์ แอท บางซื่อ]] อีกด้วย<ref>{{cite web|url=https://www.facebook.com/BigCBigService/posts/2013791365379906/|title=BigC Foodplace เกตเวย์ บางซื่อ เจอกันวันพรุ่งนี้ พลาดไม่ได้}} เพจ ฺBig C บนเฟซบุ๊ก.คอม ลงไว้ ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 สืบค้นเทื่อ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>
'''บิ๊กซี''' เกิดจากความคิดกลุ่มค้าปลีกใน[[เครือเซ็นทรัล]] และ[[เครืออิมพีเรียล]]เมื่อ พ.ศ. 2536 โดยได้ทำการก่อตั้งบริษัท เซ็นทรัล ซูเปอร์สโตร์ จำกัดขึ้นมา และได้ทำการเปิดสาขาแรกบน[[ถนนแจ้งวัฒนะ]] ในปี [[พ.ศ. 2537]]<ref>http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=3141</ref> และก็ได้ทำการเปลี่ยนชื่อเป็นบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในปี พ.ศ. 2538 แต่ต่อมาจนกระทั่งถึงช่วง[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540]] บริษัท Casino Guichard-Perrachon ผู้ประกอบการค้าปลีกอันดับสองของ[[ฝรั่งเศส]] ได้เข้ามาเพิ่มทุนและก็กลายเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ใน พ.ศ. 2542
{{notelist}}
 
=== การซื้อกิจการคาร์ฟูร์ในประเทศไทย ===
[[ไฟล์:อวสานคาร์ฟูร์.jpg|thumb|left|175px|[[คาร์ฟูร์]] สาขาลาดพร้าว [[กรุงเทพมหานคร]] ขณะเปลี่ยนป้ายเป็น บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า]]
เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 Casino Guichard-Perrachon หรือกลุ่มคาสิโน ได้ชนะการประมูลกิจการคาร์ฟูร์ในประเทศไทย ด้วยราคาซื้อขาย 686 ล้านยูโร โดยมีธนาคารดอยซ์แบงก์ เป็นที่ปรึกษา ทั้งนี้บริษัทดังกล่าวถือหุ้นบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และ 2 บริษัทจะรวมตัวกัน และส่งผลให้สาขาของบิ๊กซีเพิ่มเป็น 105 สาขา จาก 60 สาขา คิดเป็นมูลค่า 35,500 ล้านบาท และมีผลทำให้ตลาดค้าปลีกในประเทศไทยเหลือเพียง 2 เจ้าใหญ่เท่านั้น ได้แก่ เทสโก้ โลตัส และบิ๊กซี ซึ่งกิจการก็ได้ควบรวมกันเสร็จสิ้นในเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 และใน พ.ศ. 2556 บิ๊กซีได้ทำการปรับปรุงห้างคาร์ฟูร์จำนวนทั้งหมด 41 สาขาให้กลายเป็นบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 25 สาขา, บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 15 สาขา, บิ๊กซี จัมโบ้ 1 สาขาซึ่งเป็นสาขาทดลองตลาด และยังได้ปรับปรุงร้านคาร์ฟูร์ มาร์เก็ต 18 สาขา รวมถึงรีแบรนด์บิ๊กซี จูเนียร์ให้เป็น บิ๊กซี มาร์เก็ต และปรับปรุงร้านคาร์ฟูร์ ซิตี้ เป็น มินิบิ๊กซี ครบทุกสาขาแล้ว
เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 กลุ่มคาสิโน ได้ชนะการประมูลกิจการ[[คาร์ฟูร์]]ในประเทศไทย ด้วยราคาซื้อขาย 868 ล้านยูโร หรือคิดเป็นเงิน 35,857 ล้านบาท{{efn|คิดในอัตราแลกเปลี่ยนวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ในอัตรา 1 ยูโร ต่อ 41.31 บาท}}<ref>[[https://web.archive.org/web/20101119042209/https://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1289790870&grpid=03&catid=&subcatid= "คาร์ฟูร์" ปิดฉากทำธุรกิจในไทย ตกลงขายกิจการให้ "บิ๊กซี" กว่า 3.5หมื่นล้าน] มติชนออนไลน์ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ผ่านทาง web.archive.org สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>และมีผลทำให้ตลาดค้าปลีกในประเทศไทยเหลือเพียง 2 เจ้าใหญ่เท่านั้น ได้แก่ [[เทสโก้ โลตัส]] และบิ๊กซี ซึ่งกิจการได้ควบรวมกันเสร็จสิ้นในเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 และในปี พ.ศ. 2556 บิ๊กซีได้ทำการปรับปรุงคาร์ฟูร์ทั้งหมดเสร็จสิ้น โดยแบ่งออกเป็นรูปแบบคาร์ฟูร์ไฮเปอร์มาร์เก็ต (ร้านขนาดใหญ่) จำนวนทั้งหมด 34 สาขาให้กลายเป็นบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 13 สาขา, บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 15 สาขา, บิ๊กซี จัมโบ้ 1 สาขา ที่สำโรง ส่วนในบางสาขาที่มีความซ้ำซ้อนกันหรือหมดสัญญาเช่ากับผู้ให้เช่ารายเดิมก็ได้ปิดตัวไปจำนวน 5 สาขา และยังได้ปรับปรุงร้านคาร์ฟูร์ มาร์เก็ต 8 สาขา รวมถึงบิ๊กซี จูเนียร์ 2 สาขาให้เป็น บิ๊กซี มาร์เก็ต และปรับปรุงร้านคาร์ฟูร์ ซิตี เป็น มินิบิ๊กซี<ref>{{cite web|url=https://market.sec.or.th/public/IDISC/Download?FILEID=dat/annual/A0280T12.zip|title=รายงานประจำปี บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2555}} ไฟล์ PDF สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref><ref name="รายงาน">{{cite web|url=https://market.sec.or.th/public/IDISC/Download?FILEID=dat/annual/A0280T13.zip|title=รายงานประจำปี บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2556}} ไฟล์ PDF สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>
{{notelist}}
 
=== การขายกิจการให้กลุ่มทีซีซีแลนด์และกลุ่มเซ็นทรัล ===
และเพื่อเป็นการจดจำแบรนด์คาร์ฟูร์เดิม บิ๊กซีได้กำหนดแบรนด์และรูปแบบสาขาใหม่ที่จะมาใช้แทนคาร์ฟูร์คือ '''บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า''' ซึ่งเป็นการนำเอาจุดเด่นในด้านการคัดสรรสินค้าจากทุกมุมโลก และการบริการที่เป็นเลิศของคาร์ฟูร์ มารวมกับราคาคุณภาพของบิ๊กซี ซึ่งกรณีนี้ เป็นการศึกษาการให้บริการของ เอ็กซ์ตร้า ที่เป็นแบรนด์ไฮเปอร์มาร์เก็ตในประเทศบราซิล และเป็น 1 ในสมาชิกของกลุ่มคาสิโน และก็ได้นำมาปรับใช้ให้เข้ากับกับ บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า นั่นเอง
ในปี พ.ศ. 2559 กลุ่มคาสิโนได้ประสบปัญหาด้านการเงิน จึงเปิดประมูลกิจการบิ๊กซีในไทย ลาว และเวียดนาม เพื่อนำเงินทุนไปชำระหนี้สินของบริษัทฯ โดยมี [[กลุ่มเซ็นทรัล]] กับ [[กลุ่มทีซีซี]] เข้าร่วมประมูล ซึ่งกลุ่มทีซีซีได้ชนะการประมูลบิ๊กซีในประเทศไทยด้วยมูลค่า 2 แสนล้านบาท<ref name=BigC/> และกลายเป็นผู้ถือหุ้นในสัดส่วน 97.94% โดยการซื้อขายหุ้นได้เสร็จเรียบร้อยภายในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 ทำให้บิ๊กซีกลายเป็นกิจการค้าปลีกของคนไทยอีกครั้ง และจึงมีการเปลี่ยนคำขวัญเป็น '''"ห้างคนไทย หัวใจคือลูกค้า"''' นับแต่นั้นมา โดยปัจจุบันอยู่ภายใต้การถือหุ้นใหญ่โดย[[เบอร์ลี่ ยุคเกอร์|บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน)]]<ref name=รายงาน2559>{{cite web|url=https://market.sec.or.th/public/IDISC/Download?FILEID=dat/annual/A0280T16.zip|title=รายงานประจำปี บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2559}} ไฟล์ PDF สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref> ขณะที่กลุ่มเซ็นทรัลได้เพียงแค่กิจการใน[[ประเทศเวียดนาม]] ด้วยมูลค่า 3.68 หมื่นล้านบาท ซึ่งเป็นการร่วมทุนกับกลุ่มเหงียนคิม ผู้ประกอบการค้าปลีกเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์ของเวียดนาม<ref>[https://www.thansettakij.com/content/49319 ‘เซ็นทรัล’ ฮุบบิ๊กซีเวียดนาม] ฐานเศรษฐกิจ เผยแพร่เมื่อ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref> โดยทั้งหมดกำลังอยู๋ในช่วงการเปลี่ยนชื่อเป็น '''"โก!"''' เนื่องด้วยสิทธิการใช้ชื่อบิ๊กซีที่กำลังจะหมดลงในอีก 2—3 ปี ข้างหน้า ซึ่งกลุ่มทีซีซีได้มีความคิดที่จะขยายธุรกิจบิ๊กซีออกไปยังเวียดนามหลังจากสิทธิการใช้ชื่อบิ๊กซีของกลุ่มเซ็นทรัลหมดลง เช่นกัน<ref name=vte>[https://positioningmag.com/1255934 “BJC” เตรียมดึงแบรนด์ “บิ๊กซี” ในเวียดนามคืน หลังเครือเซ็นทรัลหมดสัญญาใน 3 ปี] positioningmag.com เผยแพร่เมื่อ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2562 สืบค้นเมื่อ 8 กรกรฎาคม พ.ศ. 2563</ref>
 
[[ไฟล์:BIGVietnam C PATHUMbigc.jpg|175px|thumb|250pxleft|บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาปทุมธานี[[สีอาน]] ใน[[ประเทศเวียดนาม]]]]
อย่างไรก็ตาม ในจำนวนสาขาทั้งหมด บิ๊กซี ยังได้ปิดสาขาคาร์ฟูร์ไปจำนวนหนึ่งด้วย โดยส่วนใหญ่สาขาที่ปิดไป เป็นสาขาที่ทำเลไม่เหมาะสม สาขาซ้ำซ้อน หรือหมดสัญญาเช่าที่ดิน ซึ่งบิ๊กซีก็ได้ก่อสร้างสาขาเพื่อเป็นการทดแทนเอาไว้ด้วย
====กิจการในต่างประเทศ====
 
บิ๊กซี ได้ขยายธุรกิจออกสู่ต่างประเทศครั้งแรกที่[[ประเทศเวียดนาม]]ในราว[[คริสต์ทศวรรษ 2000]]<ref name=vte/> ปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งสิ้น 36 สาขาภายใต้การสิทธิ์การบริหารของกลุ่มเซ็นทรัล, ในปี พ.ศ. 2561 กลุ่มทีซีซี ยังได้เริ่มทำการเปลี่ยนชื่อ เอ็มพอยท์มาร์ท ร้านสะดวกซื้อที่บริษัทตั้งขึ้นเองใน[[ประเทศลาว]]ทั้งหมด 44 สาขาให้เป็นมินิบิ๊กซีทั้งหมดซึ่งการเปลี่ยนแปลงชื่อได้เสร็จสิ้นในปีต่อมา<ref>{{cite web|url=https://facebook.com/267836543753975/posts/431087997428828|title=ลาก่อน..M-Point Mart mini BigC มาแล้ว!!}} เพจเป็นเรื่อง...เป็นลาว ลงไว้ ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2561 สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 หมายเหตุ : มีรูปภาพที่น่าเชื่อได้ว่าเริ่มมีการเปลี่ยนเปลี่ยนตั้งแต่ช่วงปลายปี พ.ศ. 2561</ref>
=== การขายกิจการให้กลุ่มทีซีซีแลนด์และกลุ่มเซ็นทรัล ===
<ref>[https://positioningmag.com/1255880 ตลาดเพื่อนบ้านคึกคัก “บิ๊กซี” ปี 2563 ลงทุน 1,500 ล้าน ระดมเปิดสาขากัมพูชา-ลาว-เวียดนาม] positioningmag.com เขียนเมื่อ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562 สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>, ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562 บิ๊กซียังได้เปิดสาขาแรกใน[[ประเทศกัมพูชา]] ที่[[ปอยเปต]] โดยใช้เงินลงทุน 300 ล้านบาทบนเนื้อที่ 20 ไร่ พร้อมพื้นที่ขาย 3,000 ตารางเมตรและพื้นที่เช่า 5,000 ตารางเมตร โดยบิ๊กซียังวางแผนที่จะเปิดไฮเปอร์มาร์เก็ตอีกหลายแห่งแห่งใน[[พนมเปญ]]และ[[เสียมเรียบ]]ในอีกสองปีข้างหน้า<ref>[https://www.bangkokpost.com/business/1808854/big-c-spreading-hypermarkets-around Big C spreading hypermarkets around] bangkokpost.com 5 ธันวาคม พ.ศ. 2562 สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref><ref name=poipet/>
ใน พ.ศ. 2559 บิ๊กซีได้ส่งหนังสือแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่ากลุ่มคาสิโนได้ขายหุ้นที่ถืออยู่ในบิ๊กซีทั้งหมดให้กับ บริษัท ทีซีซี กรุ๊ป จำกัด ของนาย[[เจริญ สิริวัฒนาภักดี]] หลังจากเปิดการประมูลกิจการทั้งในไทย ลาว และเวียดนาม เพื่อนำเงินทุนไปชำระหนี้สินของบริษัท โดยมีกลุ่มเซ็นทรัล และทีซีซีกรุ๊ปเป็นผู้เข้าประมูล โดยการซื้อขายหุ้นได้เสร็จเรียบร้อยภายในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 ทำให้บิ๊กซีกลายเป็นกิจการค้าปลีกของคนไทยโดยสมบูรณ์ และบิ๊กซีได้มีการปรับแผนการดำเนินการโดยโอนส่วนผลิตสินค้าตัวเองไปอยู่ภายใต้การดูแลของบีเจซี เน้นทำตลาดสินค้าบีเจซีมากขึ้น นำร้านค้าในเครือทีซีซีมาเปิดให้บริการ รวมถึงขยายสาขาในศูนย์การค้าของกลุ่มทีซีซี เช่นพันทิปเชียงใหม่เป็นต้น
 
อย่างไรก็ตามทีซีซีกรุ๊ปได้สิทธิ์การบริหารเฉพาะสาขาในประเทศไทยเพียงอย่างเดียว ยกเว้นบางสาขาที่เปิดในที่ดินของกลุ่มเซ็นทรัล เช่น สาขาบางนา สาขานครราชสีมา สาขาเซ็นทรัลมารีนา และสาขาเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี ก็จะยังคงบริหารโดยกลุ่มเซ็นทรัลภายใต้รูปแบบแฟรนไชส์จากกลุ่มบีเจซีตามเดิม ในขณะที่สาขาที่เวียดนาม 34 สาขา ได้ถูกโอนไปอยู่ภายใต้การดูแลของ [[เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น]] โดยบางสาขาได้เริ่มเปลี่ยนชื่อเป็น "โก!" แล้ว คาดว่าจะเปลี่ยนแล้วเสร็จทั้งหมดใน พ.ศ. 2563 ซึ่งสอดคล้องกับสิทธิ์การใช้ชื่อบิ๊กซีของกลุ่มเซ็นทรัลที่จะหมดลงในปีเดียวกัน
 
==รูปแบบสาขา==
[[File:BIG C PATHUM.jpg|thumb|200px|บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาปทุมธานี ใน[[อำเภอเมืองปทุมธานี]] [[จังหวัดปทุมธานี]]]]
 
[[File:ฺBIGCFOODPLACE.jpg|thumb|200px|บิ๊กซี ฟู้ดเพลส สาขา[[เกทเวย์ แอท บางซื่อ]] ใน[[เขตบางซื่อ]] [[กรุงเทพมหานคร]]]]
{| class="wikitable"
|-
! เครื่องหมาย<br>การค้า !! ประเภท !! พื้นที่ขาย !! เวลาทำการ !! ลักษณะ !! จำนวนสาขา<ref>http://corporate.bigc.co.th/th/stores/bigc/</ref> !! สาขาเรือธงอ้างอิง
|-
|[[ไฟล์:Bigc supercenter logo.png|70px]] || '''ซูเปอร์เซ็นเตอร์''' || 84,000 - 1012,000 ตรม. || 8.00, 9.00 น. - 21.00, 22.00, 23.00, 24.00, 2:00 น. || รูปแบบสาขาพื้นฐานของบิ๊กซีไฮเปอร์มาร์เก็ต มีที่มุ่งจับลูกค้าระดับกลางถึงล่าง โดยมุ่งเน้นที่การนำเสนอสินค้ากว่าหลากหลายที่ประหยัด 30,000และให้ความคุ้มค่าสูงสุด รายการรวมถึงบริการที่ประทับใจ พร้อมด้วยสภาพแวดล้อมในร้านค้าที่สะอาดและยังมีโซนพลาซาประสิทธิภาพสูงที่สุด พร้อมด้วยพื้นที่ร้านเช่าและความบันเทิงต่างๆ อีกเป็นจำนวนมาก บางสาขาอยู่ในศูนย์การค้าบางสาขายังมีห้าง[[โฮมโปร]] และ[[โรงภาพยนตร์]]เปิดทำการร่วมด้วย ในจำนวนนี้มีสาขาที่ถูกปรับปรุงมาจากคาร์ฟูร์เดิมรวมอยู่ 24 สาขา เอ็มเอ็ม เมก้า 2 สาขา มาร์เก็ต 1 สาขา และ เอ็กซ์ตร้า 2 สาขา || 147<ref || [[ราชดำริ]]name="รายงาน"/>
|-
|[[ไฟล์:Bigc extra logo.jpg|70px]] || '''เอ็กซ์ตร้า''' || 4,000 – 12,000 ตรม. || 7.00, 8.00, 9.00, 10.00 น. – 22.00, 23.00, 24.00, 2.00 น. || ไฮเปอร์มาร์เก็ต ที่มุ่งจับลูกค้าที่มีรายได้ระดับกลางถึงบน โดยนำเสนอสินค้าพรีเมี่ยม อาหารสด และอาหารแห้งที่หลากหลาย รวมถึงสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ สินค้ากลุ่มเทคโนโลยี ไวน์ และสินค้าพิเศษอื่น ๆ || <ref name="รายงาน"/>
| '''เอ็กซ์ตร้า''' || 8,000 - 10,000 ตรม. || 7.00, 8.00, 9.00, 10.00 - 22.00, 23.00, 24.00, 2.00 น. || รูปแบบสาขาพิเศษของบิ๊กซีที่กำหนดมาเพื่อใช้งานแทนสาขาคาร์ฟูร์เดิมในแนวคิด "Better and Bigger" เน้นกลุ่มลูกค้าเกรด A ในโซนใจกลางเมืองเป็นหลัก ในจำนวนนี้เป็นสาขาที่ปรับปรุงมาจากคาร์ฟูร์เดิม 14 สาขา และ ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 1 สาขา || 15 || [[เมกาซิตี้ บางนา]]
|-
| || '''พลาซ่า''' || 3,000 ตรม.ไม่ทราบ || || รูปแบบร้านค้าที่เปิดโดยร้านเป็นศูนย์การค้าให้เช่าระดับพรีเมียมต่างๆที่มีทั้ง โดยจะเปิดเป็นส่วนต่อขยายจากบิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า ||สาขาพระรามที่ 4 1บริเวณที่ดินทางทิศตะวันออกของอาคาร || พระราม <ref name=poipet>[https://www.prachachat.net/marketing/news-169358 “บิ๊กซี” ยึดปอยเปต 3 พันตร.ม. ผุดโมเดลใหม่ดึง “ยูนิโคล่” เสริมความแรง] เขียนเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2561 prachachat.net สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>
|-
| || '''ฟู้ดเพลส''' || ไม่ทราบ || 08:00, 10.00 – 22.00 น. <br>24 ชั่วโมง ([[สามย่านมิตรทาวน์]]) || ซูเปอร์มาร์เก็ตที่เน้นการจำหน่ายอาหารสด อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารพร้อมรับประทาน และผลิตภัณฑ์นำเข้าจากต่างประเทศ พร้อมพื้นที่รับประทานอาหารภายในบริเวณร้านน ปัจจุบัน เปิดให้บริการแล้ว 3 สาขาที่เกทเวย์ แอท บางซื่อ, สามย่านมิตรทาวน์และท่าอิฐ || <ref>[https://corporate.bigc.co.th/about ข้อมูลองค์กร บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)] bigc.co.th สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>
| '''ฟู้ดเพลส''' || 2,000 - 3,000 ตรม. || 10.00 - 22.00 ([[เกทเวย์ แอท บางซื่อ]]) <br>24 ชั่วโมง ([[สามย่านมิตรทาวน์]]) || รูปแบบร้านค้าที่เน้นอาหารสดระดับพรีเมี่ยม เน้นคุณภาพอาหารที่ดีกว่าสาขาทั่วไป พร้อมแผนกครัวร้อนรูปแบบใหม่ที่ให้ลูกค้าได้รับประทานอาหารที่ปรุงเสร็จทันทีที่สาขา เน้นกลุ่มลูกค้าระดับพรีเมี่ยมเกรด A ขึ้นไป และในจำนวนนี้เป็นสาขาที่ปรับปรุงมาจากมาร์เก็ตเดิม 1 สาขา || 3 || [[สามย่านมิตรทาวน์]]
|-
|[[ไฟล์:บิ๊กซี มาร์เก็ต.gif|70px]] || '''มาร์เก็ต''' || 2,000750 - 32,000 ตรม. || 6.00, 7.00, 8.00, 9.00, 10.00 -น. – 21.00, 22.00, 23.00 น. || สาขาขนาดเล็กซูเปอร์มาร์เก็ตที่เน้นเจาะตอบสนองความต้องการของลูกค้ากลุ่มลูกค้าย่านชานเมืองกลางถึงล่าง หรือนอกตัวเมืองเป็นหลักมีสินค้าประมาณ 8,000 – 15,000 รายการ ทั้งอาหารสด ของใช้ไปจนถึงเครื่องใช้ไฟฟ้า มีทั้งรูปแบบสาขาปกติทั่วไป และเช่าพื้นที่ในห้างสรรพสินค้าท้องถิ่น ในจำนวนนี้เป็นสาขาที่ปรับปรุงมาจากคาร์ฟูร์เดิม 18 สาขา และปรับปรุงมาจากจูเนียร์เดิม 2 สาขา ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 1 สาขา ศูนย์การค้า|| 60 || [[ทวีกิจ]] คอมเพล็กซ์<ref สระบุรีname="รายงาน"/>
|-
|[[ไฟล์:มินิบิ๊กซี.jpg|70px]] || '''มินิบิ๊กซี''' || 600-1,000เฉลี่ยประมาณ 160 ตรม. || เปิด 24 ชั่วโมง || รูปแบบร้านสะดวกซื้อที่ปรับปรุงมาจากร้านลีดเดอร์ไพรส์เดิม เน้นความสะดวกสบาย มีสินค้าให้บริการ 3,500 รายการทั้งเครื่องอุปโภค บริโภค และจุดเด่นที่จำหน่ายอาหารสดเช่นเดียวกับไฮเปอร์มาร์เก็ต รวมถึงเพื่อตอบสนองความต้องการของนักชอปปิ้งรายวัน ยังมีบริการอื่นๆต่าง ๆ เช่น เคาท์เตอร์เซอร์วิส แรบบิทเซ็นเตอร์ เป็นต้น มีสาขาในกรุงเทพฯอยู่มากกว่า ปริมณฑล ตามอำเภอต่าง1,000 ๆ ในแต่ละจังหวัด และสถานีบริการน้ำมันบางจาก,สถานีบริการน้ำมันเซลล์,สถานีบริการน้ำมันคาลเท็กซ์สาขา || <ref name="รายงาน"/><ref>[https://www.springnews.co.th/pr/582007 1,018000 ||[[อุดมสุข]สาขาแล้ว !  มินิบิ๊กซี “สะดวก ใกล้บ้านคุณ”] springnews.co.th เขียนเมื่อ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2562 สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>
|-
|[[ไฟล์:Pure.jpg|70px]] ||| '''เพรียว''' || ประมาณ 45 ตรม. || 6.00, 7.00, 8.00, 9.00 – 21.00, 22.00, 23.00, 24.00 น.<br>24 ชั่วโมง ([[สามย่านมิตรทาวน์]]) || ร้านจำหน่ายเวชภัณฑ์และผลิตภัณฑ์บำรุงสุขภาพและความงาม มีสินค้าประมาณ 2,000 รายการ โดยส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในไฮเปอร์มาร์เก็ตและบิ๊กซีมาร์เก็ต แต่ก็ได้มีบางสาขาที่เปิดอย่างเป็นเอกเทศ || <ref name="รายงาน"/>
|}
===ในอดีต===
{| class="wikitable"
|-
! ประเภท !! พื้นที่ขาย !! ลักษณะ !! อ้างอิง
|-
| '''จัมโบ้''' || 10,000 ตรม.
|| เป็นร้านค้าแบบขายส่ง ภายใต้แนวคิด “พบทุกอย่างที่นี่ ที่เดียว” โดยกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหาร โรงแรม ธุรกิจจัดเลี้ยง ผู้ประกอบการรายย่อย บริษัท สถาบันและครอบครัวใหญ่ เปิดสาขาแรกที่สำโรง ซึ่งเป็นการเข้ามาแทนที่คาร์ฟูร์เดิม และเปิดเพิ่มอีก 2 สาขาโโยการปรับเปลี่ยนมาจากบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ที่ราษฎร์บูรณะและนวนคร อีกทั้งยังมี '''บิ๊กซี จัมโบ้สเตชั่น''' ซึ่งเป็นรูปแบบขนาดเล็กของบิ๊กซ๊ จัมโบ้ซึ่่งเปิดอยู๋ในบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาพัทยา และ อยุธยา || <ref name="รายงาน"/>
|-
| '''จูเนียร์''' || 750 – 2,000 ตรม. || ชื่อเดิมของรูปแบบสาขา '''บิ๊กซี มาร์เก็ต''' โดยมีสาขาที่เคยใช้ชื่อดังกล่าวทั้งสิ้น 2 สาขาที่[[ทวีกิจ]] คอมเพล็กซ์ สระบุรี และที่[[จังหวัดพังงา]] ในช่วงปี พ.ศ. 2553–2554|| <ref>[http://web.archive.org/web/20110312013400/ สาขาบิ๊กซี จูเนียร์ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2554] bigc.co.th ผ่านทาง web.archive.org สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</ref>
|-
| '''เพรียว''' || 100-200 ตรม. || 6.00, 7.00, 8.00, 9.00 - 21.00, 22.00, 23.00, 24.00 น.<br>24 ชั่วโมง ([[สามย่านมิตรทาวน์]]) || ศูนย์รวมเวชภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงามที่มีคุณภาพดีซึ่งผ่านการคัดสรรอย่างเข้าใจ เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของทุกไลฟ์สไตล์ || 138 || บิ๊กซี [[รังสิต]]
|}
 
==ดูเพิ่ม==
*[[คาร์ฟูร์]]
*[[เบอร์ลี่ ยุคเกอร์]]
 
*[[กลุ่มทีซีซี]]
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/บิ๊กซี"