ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏบวรเดช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| conflict = กบฏบวรเดช
| partof =
| image = [[ไฟล์:TroopsBoworadet in the BoworadetRebellion rebellionmontage.jpgpng|350px]]
| caption = บน: สถานีรถไฟดอนเมืองและกรมอากาศยาน<br>กลางขวา: ทหารรัฐบาลตั้งแนวยิงปืนใหญ่บนถนนประดิพัทธ์<br>ล่างขวา: รถไฟขนอาวุธหนักของฝ่ายรัฐบาล<br>ซ้าย: ช่องเขาขาด จุดที่พระยาศรีสิทธิสงครามเสียชีวิต
| caption = ทหารช่างอยุธยาตกเป็นเชลยถูกควบคุมโดยทหารฝ่ายรัฐบาล ซึ่งถือปืนติดดาบปลายปืนอยู่แถวหลัง
| date = 11–24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
| place = [[จังหวัดพระนคร]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[จังหวัดเพชรบุรี]] และ[[จังหวัดราชบุรี]]
บรรทัด 78:
 
==เหตุการณ์กบฏ==
[[ไฟล์:Boworadet Rebellion Map.png|220250px|thumb|แผนที่แสดงกองกำลังทหารทั้งสองฝ่าย สีแดงคือกองกำลังกบฏ]]
=== 11 ตุลาคม "กบฏยึดทุ่งดอนเมือง"===
11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 เพียงสิบวันหลังหลวงประดิษฐ์มนูธรรมเดินทางกลับประเทศสยาม พระองค์เจ้าบวรเดชได้นำกำลังเข้าแจ้งต่อข้าราชการหัวเมืองว่า รัฐบาลคณะราษฎรจะเอาระบอบคอมมิวนิสต์มาใช้และจะไม่มีกษัตริย์จึงต้องนำทหารเข้าไปปราบปราม อย่าได้ทำการขัดขวาง<ref name ="siam revolt">เพลิง ภูผา, 2541. ''กบฏเมืองสยาม''</ref> พระองค์เจ้าบวรเดชเป็นผู้นำกองกำลังกบฏที่ชื่อว่า '''คณะกู้บ้านเมือง''' ซึ่งประกอบด้วยทหารโคราช (กองพันทหารราบที่ 15, กองพันทหารราบที่ 16, กองพันทหารม้าที่ 4, กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 3 และ กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 4) ทหารเพชรบุรี (กองพันทหารราบที่ 14), ทหารอุบลราชธานี (กองพันทหารราบที่ 18)
บรรทัด 136:
 
==พระบรมวงศ์เสด็จหนีไปชายแดน==
|[[ไฟล์:Troops captionin =the Boworadet rebellion.jpg|250px|thumb|ทหารช่างอยุธยาตกเป็นเชลยถูกควบคุมโดยทหารม้าฝ่ายรัฐบาล ซึ่ง(สวมหมวกกะโล่) ถือปืนติดดาบปลายปืนอยู่แถวหลัง]]
16 ตุลาคม เครื่องบินฝ่ายกบฏบินมาทิ้งใบปลิวที่วังไกลกังวลเพื่อทูลว่าการยึดอำนาจล้มเหลว ในค่ำวันต่อมา เมื่อพระบาทสมเด็จประปกเกล้าฯทราบว่าทหารเพชรบุรียอมจำนนต่อรัฐบาลแล้ว และรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรมกำลังเดินทางลงมาเข้าเฝ้า ก็ทรงตื่นตระหนกรีบเสด็จลงเรือพระที่นั่งศรวรุณ ซึ่งเป็นเรือยนต์ลำเล็กอย่างกะทันหันพร้อมกับ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี|สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี]], [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]], [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี]], [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช]], [[หม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ]], [[หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล]], [[หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร]], [[หม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์]], [[หม่อมเจ้าเศรษฐพันธ์ จักรพันธุ์]] พร้อมทหารรักษาวังอีก 6-7 นาย มุ่งหน้าจังหวัดสงขลา
 
เส้น 145 ⟶ 146:
 
== ผลลัพธ์ ==
[[ไฟล์:Pitak Ratthathammanun Monument.JPG|220250px|thumb|อนุสาวรีย์ปราบกบฏ]]
25 ตุลาคม พระบาทสมเด็จประปกเกล้าฯมีพระราชกระแสจากพระตำหนักเขาน้อย จังหวัดสงขลา แนะนำให้รัฐบาลประกาศอภัยโทษให้แก่ผู้ร่วมก่อการจลาจลตลอดจนนายทหารและบุคคลที่ไม่ใช่หัวหน้าหรือคนสำคัญในการกระทำครั้งนี้เสียโดยเร็ว แต่ถูกแต่รัฐบาลปฏิเสธโดยอ้างหลักการที่ว่าจำต้องดำเนินคดีให้ถึงที่สุดเสียก่อน