ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระยะการทดลองทางคลินิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:Q7180990
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ}}
{{บทความหลัก |การทดลองทางคลินิก}}
 
'''ระยะการทดลองทางคลินิก''' หรือ '''ขั้นตอนการทดลองทางคลินิก''' ({{lang-en |phases of clinical research}}) เป็นลำดับขั้นตอน/ระยะต่าง ๆ ที่[[นักวิทยาศาสตร์]]/[[นักวิจัย]]ทำ[[การทดลอง]]เกี่ยวกับการป้องกันหรือการรักษา[[โรค]]ใหม่เทียบการป้องกันหรือการรักษาโรคมาตรฐานที่ใช้ในปัจจุบัน<ref>{{harvp | การวิจัยแบบทดลองทางคลินิกเพื่อเปรียบเทียบคุณค่าของกระบวนการป้องกันหรือรักษาโรค | 2011 | loc = 11.1 บทนำ, p. 122 }}</ref> เพื่อให้ได้[[หลักฐานเชิงประสบการณ์|{{nowrap |หลักฐาน}}]]เพียงพอเพื่อใช้ป้องกันหรือรักษาทาง[[การแพทย์]]
ในกรณีงานศึกษา[[เภสัชภัณฑ์]] ระยะการทดลองจะเริ่มที่การออกแบบยา (drug design) และ{{nowrap |การค้นหายา}} (drug discovery) แล้วตามด้วย[[การทดลอง]]ใน[[สิ่งมีชีวิตตัวแบบ|สัตว์]]
เส้น 54 ⟶ 53:
20-80 คน<ref name="ขั้นตอนที่ 1">{{harvp | การวิจัยแบบทดลองทางคลินิกเพื่อเปรียบเทียบคุณค่าของกระบวนการป้องกันหรือรักษาโรค | 2011 | loc = 11.2 ขั้นตอนของ Clinical trial, ขั้นตอนที่ 1, p. 123 }}</ref>}} (หรือสำหรับยารักษาโรคมะเร็งเป็นต้น คนไข้โรคมะเร็ง)
| ประมาณ 70%
| ตรวจว่ายาปลอดภัยเพื่อตรวจประสิทธิศักย์ (efficacy) ในมนุษย์ต่อไปหรือไม่
|-
| ระยะ 2
เส้น 102 ⟶ 101:
== ระยะ 1 ==
ระยะหนึ่งปกติเป็นระยะแรกที่ทดสอบในมนุษย์<ref name="ccs">{{cite web | url = http://www.cancer.ca/en/cancer-information/diagnosis-and-treatment/clinical-trials/phases-of-clinical-trials/?region=on | title = Phases of clinical trials | publisher = Canadian Cancer Society | date = 2017 | accessdate = 2017-02-01}}</ref>
ออกแบบเพื่อตรวจความปลอดภัย, ผลข้างเคียง, ขนาดดีสุด และสูตรประกอบยา<ref>{{Cite web | url = https://www.cancer.gov/publications/dictionaries/cancer-terms/def/phase-i-clinical-trial | title = NCI Dictionary | publisher = National Cancer Institute | date = 2011-02-02 }}</ref>
 
ปกติแล้ว จะรับอาสาสมัครสุขภาพดี {{nowrap |20-100 คน}}<ref name=fda/><ref name=ccs/>
เส้น 110 ⟶ 109:
เป็นระยะ 5 เท่าของครึ่งชีวิตยา<ref name="ขั้นตอนที่ 1" />
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
ระยะนี้ออกแบบเพื่อประเมินความปลอดภัย, ความอดทนรับยาได้ (tolerability), [[เภสัชจลนศาสตร์]] และ[[เภสัชพลศาสตร์]]ของยา
ระยะ 1 ปกติจะรวมการเพิ่มหาขนาดยา (dose-ranging) เพื่อตรวจขนาดที่ดีสุดและปลอดภัยสุด และเพื่อตรวจขนาดสูงสุดที่ยาเป็นพิษเกินกว่าจะใช้<ref>{{cite journal | url = http://www.medscape.com/viewarticle/582554_2 | title = The Myth of Equipoise in Phase 1 Clinical Trials | journal = Medscape J Med | year = 2008 | volume = 10 | issue = 11 | pages = 254 | author = Shamoo, Adil E | pmid = 19099004 | pmc = 2605120 }}</ref>
ช่วงขนาดยาที่ตรวจปกติจะเป็นแค่เศษส่วนของระดับที่พบว่าเป็นอันตรายต่อสัตว์
ที่พบว่าเป็นอันตรายต่อสัตว์
การทดลองระยะ 1 มักจะรับอาสาสมัครที่สุขภาพดี
แต่ในบางกรณีก็ทดลองกับคนไข้โดยตรง เช่นในคนไข้ที่มีมะเร็งแบบถึงตาย หรือคนไข้[[เอชไอวี]] หรือในกรณีที่การรักษาน่าจะทำให้อาสาสมัครสุขภาพดีป่วยได้ (เพราะเป็นกลุ่มยาที่มีพิษเกินกว่าจะทดลองในคนปกติ<ref name="ขั้นตอนที่ 1" />)
งานศึกษาเช่นนี้ปกติจะทำในคลินิกที่เฝ้าดูแลอย่างใกล้ชิด (เรียกว่า Central Pharmacological Units หรือ CPU) ที่อาสาสมัครจะได้รับการดูแลโดยแพทย์พยาบาล 24 ชม.
นอกจากคนไข้ตามที่ว่าแล้ว "คนไข้ที่ปกติได้ลองรักษาด้วยการบำบัดมาตรฐานที่มีอยู่แล้วโดยไม่ดีขึ้น"<ref name="DeMets">{{Cite book | author = DeMets, D., Friedman, L., and Furberg, C. | year = 2010 | title = Fundamentals of Clinical Trials | publisher = Springer | edition = 4th | isbn = 978-1-4419-1585-6}}</ref>
อาจร่วมในการทดลองระยะ 1
อาสาสมัครอาจได้รับค่าตอบแทนบ้างเนื่องกับความไม่สะดวกสำหรับเวลาที่อยู่ในศูนย์
เส้น 136 ⟶ 134:
 
* {{anchor |1b|Ib}} '''การให้ยาคนละหลายครั้งโดยเพิ่มขนาดในแต่ละกลุ่ม (multiple ascending dose ระยะ 1b)'''
วิธีนี้ตรวจสอบตรวจเภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ของการได้ยาหลายครั้งเพื่อตรวจสอบความปลอดภัยและความอดทนได้
ในงานศึกษาเช่นนี้ อาสาสมัครจะได้รับยาขนาดน้อย ๆ หลายครั้งโดยจะเก็บตัวอย่าง (เลือดหรือสารคัดหลั่งอื่น ๆ) ที่เวลาต่าง ๆ แล้ววิเคราะห์หาข้อมูลว่า ร่างกายจัดการกับยาเช่นไร
ถ้าไม่มีผลข้างเคียง กลุ่มต่อ ๆ มาจะได้ยาเพิ่มขึ้นจนถึงระดับที่ระบุไว้ตั้งแต่ต้น<ref name=ccs/><ref name="p1ct"/>
เส้น 152 ⟶ 150:
งานศึกษาระยะ 2 บางครั้งแบ่งออกเป็นระยะ 2a และ 2b แม้จะไม่มีนิยามที่แน่นอน แต่โดยทั่วไปแล้ว
* ระยะ 2a ปกติเป็นงานศึกษานำร่องออกแบบเพื่อแสดงประสิทธิศักย์ทางคลินิกหรือฤทธิ์ทางชีวภาพ (เป็นงานศึกษาพิสูจน์แนวคิด)<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
ระยะ 2a เปนเป็นการทดลองหาขนาดยาที่เหมาะสมและไม่เป็นพิษ ทำต่อจากระยะที่ 1 กับอาสาสมัครจำนวนมากขึ้น เพราะขนาดยาที่ได้จากระยะที่ 1 อาจยังไม่เหมาะสมแน่นอน<ref name="ขั้นตอนที่ 2">{{harvp | การวิจัยแบบทดลองทางคลินิกเพื่อเปรียบเทียบคุณค่าของกระบวนการป้องกันหรือรักษาโรค | 2011 | loc = 11.2 ขั้นตอนของ Clinical trial, ขั้นตอนที่ 2, p. 123 }}</ref>
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***--><ref name="yuan">{{Cite journal | last = Yuan | first = Jiacheng | last2 = Pang | first2 = Herbert | last3 = Tong | first3 = Tiejun | last4 = Xi | first4 = Dong | last5 = Guo | first5 = Wenzhao | last6 = Mesenbrink | first6 = Peter | date = 2016 | title = Seamless Phase IIa/IIb and enhanced dose-finding adaptive design | journal = Journal of Biopharmaceutical Statistics | volume = 26 | issue = 5 | pages = 912-923 | doi = 10.1080/10543406.2015.1094807 | issn = 1520-5711 | pmc = 5025390 | pmid = 26390951}}</ref>
* ระยะ 2b สืบหาขนาดดีสุดที่ยามีฤทธิ์ทางชีวภาพโดยมีผลข้างเคียงน้อยสุด (เป็นงานศึกษาหาขนาดแน่นอน)<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
เส้น 159 ⟶ 157:
งานทดลองบางงานรวมระยะ 1-2 เข้าด้วยกัน คือตรวจทั้งประสิทธิศักย์ (efficacy) และความเป็นพิษ (toxicity)
 
; รูปแบบการทดลอง: การทดลองระยะ 2 บางงานออกแบบเป็น [[case series]] เพื่อแสดงความปลอดภัยและฤทธิ์ในกลุ่มคนไข้ที่จำเพาะโดยไม่มีกลุ่มควบคุม ส่วนงานอื่น ๆ ออกแบบเป็น[[การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม]] ({{abbr |RCT| randomized controlled trial }}) ที่คนไข้บางส่วนรับยา/การรักษาที่เป็นประเด็นงานศึกษา และที่เหลือรับ[[ยาหลอก]]/การรักษามาตรฐาน การทดลองแบบสุ่มระยะ 2 จะมีคนไข้จำนวนน้อยกว่าการศึกษาแบบสุ่มระยะ 3
ส่วนงานอื่น ๆ ออกแบบเป็น[[การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม]] ({{abbr |RCT| randomized controlled trial }}) ที่คนไข้บางส่วนรับยา/การรักษาที่เป็นประเด็นงานศึกษา และที่เหลือรับ[[ยาหลอก]]/การรักษามาตรฐาน
การทดลองแบบสุ่มระยะ 2 จะมีคนไข้จำนวนน้อยกว่าการศึกษาแบบสุ่มระยะ 3
 
;การทดลองรักษามะเร็ง: ในระยะแรก ผู้วิจัยจะพยายามกันยาที่ไม่มีฤทธิ์ทางชีวภาพหรือมีน้อยออก ยกตัวอย่างเช่น นักวิจัยอาจตั้งเกณฑ์ว่ายาต้องมีฤทธิ์อย่างน้อยระดับหนึ่ง เช่น ในผู้ร่วมการทดลองร้อยละ 20 ถ้ามีน้อยกว่า 20% นักวิจัยก็จะเลือกยุติพิจารณายานี้ อย่างน้อยก็ไม่ใช่ในขนาดยามากสุดที่ทนได้ ถ้ามากกว่า 20% นักวิจัยก็จะเพิ่มผู้ร่วมการทดลองเพื่อประเมินอัตราการตอบสนองให้แม่นยำกว่า งานศึกษาที่กันการรักษาที่มีอัตราตอบสนองร้อยละ 20 หรือน้อยว่าปกติจะมีผู้ร่วมการทดลอง {{nowrap |14 คน}} ถ้าผู้ร่วมการทดลอง 14 คนแรกไม่ตอบสนองต่อยาเลย การมีฤทธิ์ร้อยละ 20 หรือยิ่งกว่าก็จัดว่ามีโอกาสน้อย จำนวนผู้ร่วมทดลองที่เพิ่มจะขึ้นอยู่กับความแม่นยำที่ต้องการ แต่ปกติอยู่ระหว่าง {{nowrap |10-20 คน}} ดังนั้น งานศึกษามะเร็งระยะ 2 อาจรับสมัครอาสาสามัครน้อยกว่า {{nowrap |30 คน}}เพื่อประเมินอัตราการตอบสนอง<ref name="DeMets" />
;การทดลองรักษามะเร็ง: ในระยะแรก ผู้วิจัยจะพยายามกันยาที่ไม่มีฤทธิ์ทางชีวภาพหรือมีน้อยออก
ยกตัวอย่างเช่น นักวิจัยอาจตั้งเกณฑ์ว่ายาต้องมีฤทธิ์อย่างน้อยระดับหนึ่ง เช่น ในผู้ร่วมการทดลองร้อยละ 20
ถ้ามีน้อยกว่า 20% นักวิจัยก็จะเลือกยุติพิจารณายานี้ อย่างน้อยก็ไม่ใช่ในขนาดยามากสุดที่ทนได้
ถ้ามากกว่า 20% นักวิจัยก็จะเพิ่มผู้ร่วมการทดลองเพื่อประเมินอัตราการตอบสนองให้แม่นยำกว่า
งานศึกษาที่กันการรักษาที่มีอัตราตอบสนองร้อยละ 20 หรือน้อยว่าปกติจะมีผู้ร่วมการทดลอง {{nowrap |14 คน}}
ถ้าผู้ร่วมการทดลอง 14 คนแรกไม่ตอบสนองต่อยาเลย การมีฤทธิ์ร้อยละ 20 หรือยิ่งกว่าก็จัดว่า มีโอกาสน้อย
จำนวนผู้ร่วมทดลองที่เพิ่มจะขึ้นอยู่กับความแม่นยำที่ต้องการ แต่ปกติอยู่ระหว่าง {{nowrap |10-20 คน}}
ดังนั้น งานศึกษามะเร็งระยะ 2 อาจรับสมัครอาสาสามัครน้อยกว่า {{nowrap |30 คน}}เพื่อประเมินอัตราการตอบสนอง<ref name="DeMets" />
 
;ประสิทธิศักย์เทียบกับประสิทธิผล: เมื่องานศึกษาประเมินประสิทธิศักย์ (efficacy) ก็จะตรวจดูว่ายาที่ให้อาสาสมัครตามลักษณะเฉพาะที่ว่าในงานศึกษามีผลตามที่ต้องการ (เช่น ขนาดเนื้องอก) ในกลุ่มโดยเฉพาะ ๆ (เช่น คนไข้มะเร็งที่ไม่เป็นโรคอื่น ๆ) หรือไม่ เมื่องานศึกษาประเมินประสิทธิผล (effectiveness) ก็จะประเมินว่าการรักษาจะมีผลต่อโรคหรือไม่ แต่ในงานศึกษาประเมินประสิทธิผล จำเป็นต้องรักษาคนไข้เหมือนกับในสถานการณ์จริง ๆ ซึ่งหมายความว่า ไม่ควรมีปฏิบัติการไร ๆ ในงานศึกษาที่ใช้เพิ่มการทำตามแพทย์ของคนไข้นอกเหนือจากที่จะทำเมื่อรักษาคนไข้ทั่วไป ผลที่ต้องการในงานศึกษาประสิทธิผลจะทั่วไปกว่างานศึกษาประสิทธิศักย์ เช่น คนไข้รู้สึกดีขึ้นหรือไม่ มาหาแพทย์น้อยลงหรือไม่ อายุยืนขึ้นหรือไม่ เทียบกับการได้ค่าตรวจดีกว่าหรือมีจำนวนเซลล์ที่ลดลงในงานศึกษาประสิทธิศักย์ ปกติเกณฑ์รับคนไข้ในงานศึกษาประสิทธิผลจะเคร่งครัดน้อยกว่างานศึกษาประสิทธิศักย์ เพราะนักวิจัยสนใจว่ายาจะมีผลต่อคนไข้ทั่วไปเช่นไร นักวิจัยบางท่านอ้างว่า งานศึกษาระยะ 2 บางงานเล็กเกินกว่าที่ควรจะเป็น<ref name="DeMets" />
เมื่องานศึกษาประเมินประสิทธิผล (effectiveness) เป็นการประเมินว่าการรักษาจะมีผลต่อโรคหรือไม่
แต่ในงานศึกษาประเมินประสิทธิผล จำเป็นต้องรักษาคนไข้เหมือนกับในสถานการณ์จริง ๆ
ซึ่งหมายความว่า ไม่ควรมีปฏิบัติการไร ๆ ในงานศึกษาที่ใช้เพิ่มการทำตามแพทย์ของคนไข้นอกเหนือจากที่จะทำเมื่อรักษาคนไข้ทั่วไป
ผลที่ต้องการในงานศึกษาประสิทธิผลจะทั่วไปกว่างานศึกษาประสิทธิศักย์ เช่น คนไข้รู้สึกดีขึ้นหรือไม่ มาหาแพทย์น้อยลงหรือไม่ อายุยืนขึ้นหรือไม่ เทียบกับการได้ค่าตรวจดีกว่าหรือมีจำนวนเซลล์ที่ลดลงในงานศึกษาประสิทธิศักย์
ปกติเกณฑ์รับคนไข้ในงานศึกษาประสิทธิผลจะเคร่งครัดน้อยกว่างานศึกษาประสิทธิศักย์ เพราะนักวิจัยสนใจว่ายาจะมีผลต่อคนไข้ทั่วไปเช่นไร
นักวิจัยบางท่านอ้างว่า งานศึกษาระยะ 2 บางงานเล็กเกินกว่าที่ควรจะเป็น<ref name="DeMets" />
 
=== อัตราความสำเร็จ ===
เส้น 186 ⟶ 169:
 
== ระยะ 3 ==
ระยะนี้ออกแบบเพื่อประเมินประสิทธิผล (effectiveness) ของการรักษา และดังนั้น จึงเป็นการตรวจคุณค่าของมันในการตรวจรักษาจริง ๆ<ref name="DeMets" />
งานศึกษาระยะ 3 เป็น[[การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม|การทดลองแบบสุ่ม มีกลุ่มควบคุม ทำที่ศูนย์หลายแห่ง]] กับคนไข้จำนวนมาก ({{nowrap |300-3,000 คน}}{{Efn-ua | name = "FNขั้นตอนที่ 3"}}
ขึ้นอยู่กับโรคที่กำลังศึกษา) มุ่งประเมินให้ชัดเจนว่ายามีประสิทธิผลเท่าไร เทียบกับกับการรักษามาตรฐานที่ดีสุด ณ ปัจจุบัน
เพราะขนาดและระยะที่ยาวโดยเปรียบเทียบ การทดลองระยะ 3 จึงมีค่าใช้จ่ายสูงสุด ใช้เวลามาก ออกแบบและดำเนินการได้ยาก โดยเฉพาะเมื่อรักษาโรคเรื้อรัง
การทดลองรักษาโรคเรื้อรังระยะ 3 มักจะติดตามผลแค่ระยะสั้น ๆ เทียบกับระยะเวลาจริง ๆ ที่จะรักษาคนไข้ด้วยวิธีนี้<ref name="DeMets" />
บางครั้งเรียกระยะนี้ว่า ระยะก่อนวางตลาด (pre-marketing phase) เพราะจริง ๆ ก็วัดการตอบสนองต่อยาของผู้บริโภคต่อยา
 
เป็นเรื่องปกติว่า การทดลองระยะ 3 บางอย่างจะคงทำต่อแม้เมื่อกำลังยื่นเรื่องให้องค์กรควบคุมอนุญาตการวางตลาดยา
เส้น 200 ⟶ 183:
แม้จะไม่บังคับทุกกรณี แต่ปกติควรจะมีการทดลองระยะ 3 ที่ประสบความสำเร็จอย่างน้อย 2 งาน โดยแสดงความปลอดภัยและประสิทธิศักย์ เพื่อให้ได้อนุมัติจากองค์กรควบคุมเช่น[[องค์การอาหารและยาสหรัฐ]] ({{abbr |FDA| U.S. Food and Drug Administration }}) หรือสำนักงานเวชภัณฑ์ยุโรป ({{abbr |EMA| European Medicines Agency }}) ของ[[สหภาพยุโรป]]
 
เมื่อยาได้พิสูจน์ว่าดีพอสมควรหลังจากการทดลองระยะ 3 ผลการทดลองทั้งหมดปกติจะนำมารวมกันเป็นเอกสารฉบับใหญ่ที่มีรายละเอียดวิธีและวิธีการทดลอง ผลการทดลองในสัตว์และมนุษย์ วิธีผลิตยา สูตรประกอบยา และอายุคุณภาพสินค้า
แล้วส่งไปยังองค์กรควบคุมในประเทศต่าง ๆ เพื่อใช้ในกระบวนการอนุมัติ<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
องค์กรควบคุมในประเทศต่าง ๆ รวมทั้ง
เส้น 210 ⟶ 193:
เพื่อวางขายในตลาด
 
ยาโดยมากที่กำลังทดลองทางคลินิกระยะ 3 สามารถวางตลาดขายได้ทันทีใน[[สหรัฐ]]เมื่อผ่านการยอมรับขององค์การอาหารและยาว่า คำขอวางตลาดขายยาใหม่ ({{abbr |NDA| New Drug Application }}) สมบูรณ์แล้ว (แม้จะยังไม่ชัดเจนว่ายามีผลแค่ไหน)
แต่ถ้าเกิดผลข้างเคียงไม่พึงประสงค์ใด ๆ บริษัทจะต้องถอนยาออกจากตลาดทันที
แม้บริษัทยาโดยมากจะไม่วางขายยาตั้งแต่ในช่วงนี้ แต่ก็ไม่แปลกที่ยาซึ่งยังอยู่ในการทดลองทางคลินิกระยะ 3 อยู่ได้วางตลาดขายแล้ว<ref>{{cite book | title = Pharmacotherapeutics for Advanced Practice: A Practical Approach | last = Arcangelo, Virginia Poole; Peterson, Andrew M | year = 2005 | publisher = Lippincott Williams & Wilkins | isbn = 978-0-7817-5784-3 | url = https://archive.org/details/pharmacotherapeu02edunse }}</ref>
เส้น 218 ⟶ 201:
 
'''ค่าใช้จ่ายสำหรับการทดลองระยะ 2-3'''
 
ค่าใช้จ่ายจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ที่สำคัญสุดก็คือโรคที่ใช้รักษาและวิธีการดำเนินการทดลองทางคลินิก
ในปี 2016 งานศึกษาระยะสองอาจมีค่าใช้จ่ายถึง {{nowrap |20 ล้าน[[เหรียญสหรัฐ]]}} (ประมาณ {{nowrap |706 ล้านบาท}}) และระยะสามถึง {{nowrap |53 ล้านเหรียญ}} (ประมาณ {{nowrap |1,870 ล้านบาท}})<ref>{{cite journal | pmid = 26908540 | year = 2016 | last1 = Sertkaya | first1 = A | title = Key cost drivers of pharmaceutical clinical trials in the United States | journal = Clinical Trials | volume = 13 | issue = 2 | pages = 117-26 | last2 = Wong | first2 = H. H. | last3 = Jessup | first3 = A | last4 = Beleche | first4 = T | doi = 10.1177/1740774515625964}}</ref>