ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เชียร์ลีดดิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 19:
 
อีกด้านหนึ่ง กล่าวกันว่าเริ่มจากสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการจัดตั้งกลุ่มคนขึ้นเพื่อร้องเพลงปลุกขวัญให้กำลังใจสำหรับ[[นักบินกามิกาเซ]] ซึ่งจะต้องนำเครื่องบินบรรทุกระเบิดบินพุ่งชนศัตรูแล้วเสียชีวิต จากนั้นได้กลายมาเป็นลักษณะการนำเชียร์ปลุกใจนักกีฬา โดยจะนำให้กองเชียร์เคาะจังหวะ สัญญาณ ตะโกนเชียร์พร้อม ๆ กัน โดยลักษณะท่าทางการนำเชียร์จะนำมาจากการแสดงคาบุกิอันเป็นศิลปะการแสดงดั้งเดิมของญี่ปุ่น ประกอบกับท่าทางของกีฬา[[ซูโม่]]. กีฬาที่นิยมใช้ทีมโอเอ็นดัน ได้แก่ [[เบสบอล]] และแข่งพายเรือ ส่วนเชียร์ลีดเดอร์เป็นการรับเข้ามาจากอเมริกาประมาณ ค.ศ. 1987 โดยยึดรูปแบบตามอเมริกา และมีการจัดการแข่งขันขึ้นมาเป็นประจำทุกปี ปัจจุบันการเชียร์ในญี่ปุ่นจะเป็นการร่วมกัน ระหว่างสองชมรม คือ โอเอ็นดัน และ เชียร์ลีดเดอร์แบบอเมริกา
 
== สมาคม, สหพันธ์ และองค์กร ==
* [[สหพันธ์กีฬาเชียร์นานาชาติ]] ปัจจุบันมีสมาชิก 105 ประเทศ
 
== การแข่งขันและ บริษัท ==
'''ICU World Championships''':<ref>{{cite web|url=http://www.cheerunion.org |title=International Cheer Union (ICU) |publisher=cheerunion.org |date=2013-03-18 |accessdate=2013-03-18}}</ref>
 
== เชียร์ลีดเดอร์ในประเทศไทย ==
เส้น 28 ⟶ 34:
 
จะเห็นได้ว่าเยาวชน หันมาให้ความสนใจในกีฬาประเภทนี้เป็นอย่างมาก ซึ่งในอนาคตกีฬาประเภทนี้จะได้รับความสนใจยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงต้องมีการควบคุมให้เยาวชนที่กำลังจะเล่นกีฬาเชียร์ลีดดิ้งนั้นเล่นอย่างไรให้ปลอดภัยที่สุด
 
* [[สมาคมกีฬาเชียร์แห่งประเทศไทย]] (CAT)
 
== เชียร์ลีดเดอร์ในภาพยนตร์ ==