ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขคำบรรยายใต้ภาพ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มส่วนและข้อมูล "ประวัติ"
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
 
'''ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ''' ({{lang-en|Chrysanthemum Throne}} , {{ญี่ปุ่น|Takamikura|ทากามิกูระ}}) ราชบัลลังก์ที่ใช้ประกอบ [[พระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น]] ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ ท้องพระโรง [[ชิชินเด็น]] ใน[[พระราชวังหลวงเคียวโตะ]] โดยจักรพรรดิพระองค์ล่าสุดที่ได้ประทับบนราชบัลลังก์นี้คือ[[สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ]] ในคราวพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 2019
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Main Building of Meiji Palace.JPG|thumb|left|upright|ท้องพระโรงนี้ใน[[ยุคเมจิ]]นั้นถูกใช้โดย[[จักรพรรดิโชวะ]] ซึ่งท้องพระโรงดังกล่าวนั้น ได้ถูกทำลายไปในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2]]
 
[[ประเทศญี่ปุ่น]]นั้นเป็นประเทศที่มีการสืบเชื้อสายราชวงศ์มายาวนานที่สุดในโลก<ref>McNeill, David. [https://www.independent.co.uk/news/world/asia/the-girl-who-may-sit-on-chrysanthemum-throne-484385.html "The Girl who May Sit on Chrysanthemum Throne,"] ''The Independent'' (London). 23 กุมภาพันธ์ 2005</ref> ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันกับ[[ราชวงศ์อังกฤษ]] ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศนั้นเกิดขึ้นจากแนวคิดนามนัย ที่แสดงถึงพระจักรพรรดิและอำนาจทางกฎหมายในการดำรงอยู่ของรัฐบาล ซึ่งแตกต่างจากอังกฤษ แนวคิดของสถาบันพระมหากษัตริย์ในญี่ปุ่นนั้นพัฒนามา โดยแตกต่างจากแนวคิดเดิมในช่วงก่อนปี ค.ศ. 1947 ตัวอย่างเช่น การไม่ให้มีการรับรู้ถึงการแยกทรัพย์สินของรัฐชาติออกจากตัวบุคคล และการครอบครองทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระจักรพรรดิ
 
== ดูเพิ่ม ==