ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jayangkura55 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Jayangkura55 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 39:
วันที่ 16 พฤศจิกายน ร.ศ. 122 ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นราชองครักษ์พิเศษ<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=20|issue=35|pages=595|title=แจ้งความกรมยุทธนาธิการ เรื่อง ให้นายพลเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และนายพลตรี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนครสวรรค์วรพินิต เป็นราชองครักษ์พิเศษ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/035/595.PDF|date=29 พฤศจิกายน 2446|accessdate=30 พฤศจิกายน 2559|language=ไทย}}</ref> ต่อมาในวันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ ศกนั้น ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการกรมทหารเรือ<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=20|issue=48|pages=813|title=พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งผู้บัญชาการกรมทหารเรือ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/048/813.PDF|date=28 กุมภาพันธ์ 2446|accessdate=30 พฤศจิกายน 2559|language=ไทย}}</ref> และวันที่ 19 มีนาคม ศกเดียวกัน ได้ทรงสาบานตนและรับพระราชทานตราตั้งเป็นองคมนตรี<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=20|issue=52|pages=879-880|title=พระราชพิธีศรีสัจจปานกาลและตั้งองคมนตรี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/052/879.PDF|date=27 มีนาคม 2446|accessdate=30 พฤศจิกายน 2559|language=ไทย}}</ref>
 
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดให้เปลี่ยนคำนำพระนามเป็น''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/A/1_1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ คำนำพระนามพระบรมวงษานุวงษ์], เล่ม 27, ตอน ก, 30 ตุลาคม พ.ศ. 2453, หน้า 1 </ref> และในวันต่อมาพระองค์ท่านได้เข้าถือน้ำและรับตั้งเป็นองคมนตรี ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/2273_1.PDF บัญชีพระนามและนามองคมนตรี ที่พระราชทานสัญญาบัตรแล้ว], เล่ม 27, ตอน 0 ง, 1 มกราคม ร.ศ. 129, หน้า 2,273-4</ref> ต่อมาในวันที่ 11 ธันวาคม ศกเดียวกัน อันตรงกับวันเททองหล่อพระพุทธรูปประจำพระชนมพรรษาได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานยศ [[พลเรือเอก]] แด่ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมขุนนครสวรรค์วรพินิต<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/2166.PDF พระราชทานสัญญาบัตรทหารเรือ] </ref>แล้ว [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้เลื่อนเป็น''สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ ดิลกจันทรนิภาพงศ มหามกุฎวงศนราธิราช จุฬาลงกรณนาถราชวโรรส อดุลยยศอุภโตพงศพิศุทธ นรุตมรัตนขัติยราชกุมาร กรมพระนครสวรรค์วรพินิต สชีวะเชษฐสาธิษฐสุขุมาลกษัตริย์ อภิรัฎฐมหาเสนานหุษเนาอุฑฑิน จุฬินทรปริยมหาราชวรางกูร สรรพพันธุธูรราชประยูรประดิษฐาประชาธิปกปัฐพินทร์ ปรมินทรมหาราชวโรปการ ปรีชาไวยัตโยฬารสุรพลประภาพ ปราบต์ไตรรัชยยุคยุกติธรรมอรรถศาสตร อุดมอาช์วีวีรยาธยาศรัย เมตตามันตภาณีศีตลหฤทัย พุทธาทิไตรรัตนศรณธาดา มหันตเดชานุภาพบพิตร'' ทรงศักดินา 50000 ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2468<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=42|issue=0 ก|pages=378-380|title=พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาพระอิสริยศเฉลิมพระอภิไธยและเลื่อนกรมพระราชวงศ์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/A/372.PDF|date=21 มีนาคม 2468|accessdate=26 กันยายน 2561|language=ไทย}}</ref> (นับแบบปัจจุบันตรงกับปี พ.ศ. 2469)
 
ใน[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต เป็นเจ้านายพระองค์สำคัญที่ทาง[[คณะราษฎร]] ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองต้องควบคุมองค์ไว้เป็นองค์ประกันสำคัญสูงสุด เนื่องด้วยทรงเป็นผู้รักษาพระนคร อีกทั้งยังทรงควบคุมหน่วยงานความมั่นคงต่าง ๆ ไว้เป็นจำนวนมาก ทั้งทหาร และตำรวจ ซึ่งในเช้าวันที่ 24 มิถุนายน นั้น [[พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)]] เป็นผู้นำในการบุกวังบางขุนพรหม เพื่อควบคุมพระองค์ ซึ่งทรงกำลังจะหนีทางท่าน้ำหลังวัง พร้อมกับครอบครัวและข้าราชบริพาร แต่ทว่ามีเรือตอร์ปิโดหาญทะเลของทางทหารเรือฝ่ายคณะราษฎรที่ควบคุมโดย เรือโท จิบ ศิริไพบูลย์ คอยดักอยู่ จึงยังทรงลังเล จนในที่สุดพระองค์จึงทรงยินยอมให้ทางคณะราษฎรควบคุมองค์ และเสด็จไปประทับยัง[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] พร้อมกับเจ้านายพระองค์อื่น ๆ และบุคคลสำคัญต่าง ๆ ซึ่งก่อนเสด็จมา ได้ทรงต่อรองขอเปลี่ยนเครื่องทรงจากชุดกุยเฮง ซึ่งเป็นชุดบรรทม ก็ได้รับการปฏิเสธ<ref name="ชะตาชาติ">''ชะตาชาติ'', "2475" .สารคดีทางไทยพีบีเอส: 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2555</ref> หลังจากนั้นในวันต่อมา ต้องเสด็จออกจากประเทศไทยอย่างกะทันหัน โดยเสด็จไปด้วย[[รถไฟ]]ขบวนพิเศษ ซึ่งวิ่งตลอดไม่มีหยุดพักจนถึง[[ปีนัง]]วันที่ [[10 กรกฎาคม]] และย้ายไปประทับอยู่ที่เมือง[[บันดุง]] [[เกาะชวา]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] ตราบจนสิ้นพระชนม์