ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออลเทอร์นาทิฟร็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขผิดปกติในบทความคัดสรร/คุณภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{บทความคุณภาพ}}
{{ความหมายอื่น||แนวเพลงอื่น|ออลเทอร์นาทิฟ#แนวเพลง{{!}}ออลเทอร์นาทิฟ|ดนตรีออลเทอร์นาทิฟ}}
{{ความหมายอื่น||รูปแบบรายการวิทยุที่เกี่ยวข้องกับแนวเพลงนี้|มอเดิร์นร็อก}}
{{Infobox music genre <!-- SeeWikipedia:WikiProject_Music_genres -->
| name = ออลเทอร์นาทิฟร็อก
| stylistic_origins = {{hlist|[[พังก์ร็อก]]|[[โพสต์พังก์]]|[[นิวเวฟ]]|[[ฮาร์ดคอร์พังก์]]}}
| cultural_origins = ปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980, [[สหราชอาณาจักร]]และ[[สหรัฐ]]
| instruments = {{hlist|[[Singing|ร้อง]]|[[กีตาร์]]|[[bass guitar|เบส]]|[[electronic keyboard|คีย์บอร์ด]]|[[Drum kit|กลอง]]}}
| derivatives = {{hlist|[[ออลเทอร์นาทิฟคันทรี]]|[[ออลเทอร์นาทิฟฮิปฮอป]]|[[บิกบีต]]|[[ทริปฮอป]]<ref>{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=itcAedBA5CIC&pg=PA105 |title=Global Noise: Rap and Hip Hop Outside the USA|last=Mitchell|first=Tony|publisher=[[Wesleyan University Press]]|year=2002|accessdate=November 27, 2012|isbn=0-8195-6502-4|page=105}}</ref><ref>{{cite book|title=Music, Space And Place: Popular Music And Cultural Identity|url=https://books.google.com/books?id=INrD8e0ic3oC&pg=PA84 |year=2004|accessdate=November 27, 2012|publisher=[[Ashgate Publishing]], Ltd.|last=Whiteley|first=Sheila|last2=Bennett|first2=Andy|last3=Hawkins|first3=Stan|page=84|isbn=0-7546-5574-1}}</ref>}}
| subgenres = {{hlist|[[บริตป็อป]]|[[Christian alternative rock|คริสเตียนออลเทอร์นาทิฟร็อก]]
|[[คอลเลจร็อก]]
|[[ดรีมป็อป]]
|[[อีโม]]
|[[geek rock|กีกร็อก]]
|[[อินดี้ร็อก]]
|[[แมทร็อก]]
|[[neo-psychedelia|นีโอไซเคเดเลีย]]<ref>[http://www.allmusic.com/style/neo-psychedelia-ma0000012252 AllMusic Neo-psychedelia essay]</ref>
|[[นอยส์ป็อป]]
|[[nu gaze|นูเกซ]]
|[[post-Britpop|โพสต์บริตป็อป]]
|[[โพสต์กรันจ์]]
|[[โพสต์พังก์ริไววัล]]
|[[ไรออตเกิร์ล]]
|[[ชูเกซซิง]]}}
| fusiongenres = {{hlist|[[Alternative dance|ออลเทอร์นาทิฟแดนซ์]]
| [[ออลเทอร์นาทิฟเมทัล]]
| [[alternative R&B|ออลเทอร์นาทิฟอาร์แอนด์บี]]
| [[Grebo (music)|เกรโบ]]
| [[กรันจ์]]<ref name="allmusic grunge">{{cite web |url=http://www.allmusic.com/style/grunge-ma0000002626 |title=Grunge |accessdate=August 24, 2012 |publisher=[[AllMusic]]}}</ref>}}
| regional_scenes =
| local_scenes = {{hlist|[[Music of Ireland|ไอร์แลนด์]]
| [[Music of Athens, Georgia|เอเทนส์ รัฐจอร์เจีย]]
| [[Music of New York City|นครนิวยอร์ก]]
| [[Music of Illinois|อิลลินอยส์]]
| [[Music of Los Angeles|ลอสแอนเจลิส]]
| [[Madchester|แมนเชสเตอร์]]
| [[Music of Massachusetts|แมสซาชูเซตส์]]
| [[Music of Minnesota|มินนีแอโพลิส]]
| [[Music of Oregon|พอร์ตแลนด์]]
| [[Music of Seattle|ซีแอตเทิล]]}}
| other_topics = {{hlist|[[Campus radio|แคมปัสเรดิโอ]]
| [[gothic rock|กอทิกร็อก]]
| [[Timeline of alternative rock|ประวัติศาสตร์]]
| [[ดนตรีอิสระ]]
| [[indie music scene|กระแสเพลงอินดี้]]
| [[อินดี้ป็อป]]
| [[อินดัสเทรียลร็อก]]
| [[Lollapalooza|ลอลลาพาลูซา]]
| [[นอยส์ร็อก]]
| [[ป็อปพังก์]]
| [[โพสต์ฮาร์ดคอร์]]
| [[โพสต์ร็อก]]}}
| color = white
| bgcolor = crimson
| current_year = no
}}
 
'''ออลเทอร์นาทิฟร็อก''' ({{lang-en|alternative rock}} ในบางครั้งอาจเรียกว่า '''ดนตรีออลเทอร์นาทิฟ''' (alternative music), '''ออลต์-ร็อก''' (alt-rock) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า '''ออลเทอร์นาทิฟ''') เป็นแนวเพลงร็อกที่เกิดขึ้นจาก[[เพลงใต้ดิน]]อิสระในคริสต์ทศวรรษ 1980 และเริ่มได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางในคริสต์ทศวรรษ 1990 ทั้งนี้ คำว่า "ออลเทอร์นาทิฟ" นั้นหมายถึง ความแตกต่างด้านแนวเพลงจากดนตรีร็อกกระแสหลัก ความหมายของคำนี้แต่เดิมกว้างกว่านี้ คือหมายถึงยุคของนักดนตรี ไปจนถึงแนวเพลงหรืออาจเป็นแค่ทำงานอิสระ กลุ่มคนที่ทำงานแบบ[[ดีไอวาย]]ในแนวพังก์ร็อก ซึ่งในปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 นี้เองได้ปูพื้นฐานให้กับดนตรีออลเทอร์นาทิฟ<ref name="altguitar">di Perna, Alan. "Brave Noise—The History of Alternative Rock Guitar". ''[[Guitar World]]''. December 1995.</ref> ในช่วงเวลานี้เอง "ออลเทอร์นาทิฟ" ล้วนอธิบายว่าหมายถึงดนตรีจากศิลปินร็อกใต้ดินที่ได้เป็นที่รู้จักในกระแสหลัก หรือดนตรีประเภทไหนก็ตาม ไม่ว่าจะใช่ร็อกหรือไม่ ที่สืบทอดมาจากดนตรีพังก์ร็อก (ตัวอย่างเช่น พังก์ [[นิวเวฟ]] และ[[โพสต์พังก์]])
 
ออลเทอร์นาทิฟร็อก มีความหมายครอบคลุมถึงดนตรีที่แตกต่าง ในแง่ของซาวด์เพลง บริบททางสังคม และรากเหง้าท้องถิ่น เมื่อสิ้นสุดคริสต์ทศวรรษ 1980 นิตยสารและ[[ซีน]] (Zine), สถานีวิทยุในวิทยาลัย และการพูดแบบปากต่อปากนี้เองที่ทำให้แนวนี้โดดเด่นขึ้นมาและถือเป็นจุดเด่นความหลากหลายของออลเทอร์นาทิฟร็อก ยังช่วยให้กำหนดนิยามแนวเพลงที่แตกต่างให้ชัดเจน (กระแสดนตรี) เช่น [[นอยส์ป็อป]], [[อินดีร็อก]], [[กรันจ์]] และ[[ชูเกซ]] แนวเพลงย่อยจำพวกนี้ส่วนใหญ๋แล้วจะประสบความสำเร็จในกระแสหลักได้เพียงเล็กน้อยและมีไม่กี่วง อย่าง [[ฮุสเกอร์ดุ]] และ [[อาร์.อี.เอ็ม.]] ที่ได้เซ็นสัญญากับค่ายใหญ่ แต่วงออลเทอร์นาทิฟส่วนใหญ่แล้วจะประสบความสำเร็จด้านยอดขายที่ค่อนข้างจำกัดเมื่อเทียบกับแนวร็อกอื่น ๆ และดนตรีป็อปในช่วงนั้น วงส่วนใหญ่จะเซ็นสัญญากับค่ายเพลงอิสระและได้รับความสนใจจากวิทยุที่เปิดเพลงกระแสหลัก โทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ เพียงเล็กน้อย และจากการแจ้งเกิดของวง[[เนอร์วานา]]และความนิยมในกระแสเพลงกรันจ์และบริตป็อปในคริสต์ทศวรรษ 1990 ออลเทอร์นาทิฟร็อกก็สามารถก้าวสู่ดนตรีกระแสหลัก มีวงออลเทอร์นาทิฟหลายวงประสบความสำเร็จ
 
==ต้นกำเนิดของชื่อ==
ก่อนที่ชื่อ ''ออลเทอร์นาทิฟร็อก'' จะใช้กันอย่างกว้างขวางราวปี 1990 จำพวกของเพลงที่ถูกอ้างถึงมีความหมายที่หลากหลายกันไป<ref>Azerrad (2001), p. 446.</ref> ปี 1979 เทอร์รี ทอลคิน ใช้คำว่า ''ดนตรีออลเทอร์นาทิฟ'' (Alternative Music) เพื่อบรรยายถึงวงที่เขากำลังเขียนถึงอยู่<ref>Azerrad (2001).</ref> ปี 1979 สถานีวิทยุจากดัลลาสคลื่น เคเซดอีดับเบิลยู (KZEW) มีรายการคลื่นลูกใหม่ช่วงดึกที่ชื่อ "ร็อกแอนด์โรลล์ออลเทอร์นาทิฟ" (Rock and Roll Alternative)<ref>"Are We Not New Wave Modern Pop at the Turn of the 1980s by Theo Cateforis University of Michigan Press 2011 p. 38 {{ISBN|9780472115556}}</ref> ส่วนคำว่า "[[คอลเลจร็อก]]" ใช้ในสหรัฐเพื่ออธิบายหมายถึงดนตรีในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เพื่อเชื่อมโยงกับขอบเขตสถานีมหาวิทยาลัยและรสนิยมของนักเรียนระดับมหาวิทยาลัย<ref name="Reynolds391">Reynolds, p. 391</ref> ในสหราชอาณาจักรค่ายเพลงประเภทดีไอวายมากมายเกิดขึ้นอันเป็นผลมาจากวัฒนธรรมย่อยพังก์ จากข้อมูลของหนึ่งในผู้ก่อตั้งค่ายเชอร์รีเรด กล่าวว่านิตยสาร ''[[เอ็นเอ็มอี]]'' และนิตยสาร ''ซาวส์'' ได้เผยแพร่ชาร์ตเพลงจากข้อมูลของร้านขายแผ่นเล็ก ๆ เรียกชาร์ตนี้ว่า "ออลเทอร์นาทิฟชาตส์" (Alternative Charts) ส่วนชาร์ตระดับชาติชาร์ตแรกที่ดูจากยอดขายเรียกว่า อินดี้ชาร์ต (Indie Chart) ตีพิมพ์ในเดือนมกราคม 1982 ชาร์ตประสบความสำเร็จทันทีจากการช่วยเหลือของค่ายเพลงเหล่านี้ ณ ตอนนั้นคำว่าอินดี้ใช้เพื่ออธิบายถึงค่ายอิสระ<ref>Stanley, Bob. [https://www.theguardian.com/music/2009/jul/31/indie-chart-rise-again "Will the indie chart rise again?"]. ''[[The Guardian]]''. July 31, 2009. Retrieved July 20, 2012.</ref> ในปี 1985 อินดี้มีความหมายเจาะจงไปทางแนวเพลง หรือกลุ่มแนวเพลงย่อย มากกว่าแค่สถานะการเผยแพร่เพลง<ref name="Reynolds391" />