ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bongsevm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bongsevm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
| footnotes =
}}
'''ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค''' มีนามเดิมว่า '''หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์''' ,ป.ภ.,ท.จ.ว.,ภ.ป.ร. 1 มีนามเดิมว่า '''หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์''' (23 มิถุนายน พ.ศ. 2465 - 23 เมษายน พ.ศ. 2543) เป็นน้องสาวธิดา[[เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)]] และ [[ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)]] โดยมีพี่ร่วมบิดามารดาเพียงคนเดียวของคือ [[หม่อมหลวงบัว กิติยากร]] และพลโท นายแพทย์[[หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์]] โดยมีศักดิ์เป็นพระมาตุจฉาใน[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ท่านมีผลงานที่สร้างชื่อเสียงมากมาย อาทิเช่น เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยใน[[เพลงพระราชนิพนธ์]] [[ความฝันอันสูงสุด]] [[เพลินภูพิงค์]] [[เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย]] [[แผ่นดินของเรา]] [[เตือนใจ]] [[ไร้เดือน]] [[เกาะในฝัน]] [[มาร์ชราชนาวิกโยธิน]]
 
ในชีวิตครอบครัวหม่อมหลวงมณีรัตน์ สมรสกับนาย[[สุรเทิน บุนนาค]] บุตรอำมาตย์ตรี พระพิศาลสุริยศักดิ์ (เทิน บุนนาค) และ นางผัน พิศาลสุริยศักดิ์ (สกุลเดิม สินธุสาร) มีบุตรชาย 2 คน คือ พลเอก กรีเมศร์ บุนนาค และพันเอก สุรธัช บุนนาค<ref>[http://www.bunnag.in.th/prarajpannuang080.html ชมรมสายสกุลบุนนาค]</ref>
 
หม่อมหลวงมณีรัตน์ ได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]] ชั้น[[ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ]] จึงใช้คำนำหน้า[[ท่านผู้หญิง]]
บรรทัด 45:
* [[ผู้ดี (เพลง)|ผู้ดี]]
 
ในงานสาธารณประโยชน์ด้านอื่น ท่านผู้หญิงมณีรัตน์เป็นต้นคิดและเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ริเริ่มผู้มีบทบาทสำคัญที่สุดในการสร้าง[[สวนหลวง ร.๙]] ขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในวาระครบ 60 ชันษาพรรษา เมื่อ พ.ศ. 2530 โดยริเริ่มโครงการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2525 ทำให้ประชาชนชาวกรุงเทพมหานครมีที่พักผ่อนหย่อนใจในลักษณะอุทยานขนาดใหญ่ที่งดงามเป็นครั้งแรก
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==