ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 43:
== ระบบไพร่ ==
อาณาจักรรัตนโกสินทร์ยังคงใช้ระบบไพร่ตาม[[อาณาจักรอยุธยา]]และ[[อาณาจักรธนบุรี]] แต่พบว่าจำนวนประชากรในอาณาจักรเพิ่มมากขึ้น ระยะเวลาการเกณฑ์แรงงานไพร่จึงลดลงเหลือ 4 เดือนต่อปี และ 3 เดือนต่อปีในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ทั้งนี้ ทางการได้หันไปจ้างแรงงานกุลีจากจีนมาทำงานมากกว่าการใช้ไพร่เนื่องจากมีประสิทธิภาพดีกว่า ระบบไพร่จึงมีความสำคัญน้อยลงจนกระทั่งถูกยกเลิกไปในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. '''การเมืองการปกครองไทย: หลายมิติ'''. หน้า 16.</ref>
 
== การเปลี่ยนแปลงทางดินแดนของสยามและไทย ==
 
{| class="wikitable"
|-
! # || รัชสมัย || วันที่ || ดินแดน || ให้ || เนื้อที่ <small>(ตร.กม.)</small>
|-
| 1 || [[รัชกาลที่ 4]] || [[15 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2410]] || แคว้นเขมร และเกาะอีก 6 เกาะ || [[ไฟล์:Flag of Cambodia under French protection.svg|22px]] [[กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส]] ([[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2|ฝรั่งเศส]]) || 124,000
|-
| 2 || [[รัชกาลที่ 5]] || [[22 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2431]] || สิบสองจุไทและหัวพันห้าทั้งหก || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] || 87,000
|-
| 3 || รัชกาลที่ 5 || [[27 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2435]] || ดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำสาละวิน (5 เมืองเงี้ยว และ 13 เมืองกะเหรี่ยง) || [[ไฟล์:Flag of Imperial India.svg|22px]] [[บริติชราช]] || 30,000
|}
 
<!----------------------------------------------
ใส่เฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางดินแดนที่มีเอกสารสัญญาอ้างอิง
------------------------------------------------>
{| class="wikitable sortable"
|-
! วันที่ !! colspan=2| ดินแดนพิพาท !! เนื้อที่ !! รัฐคู่พิพาท !! width="250"| หมายเหตุ
|-
| [[3 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2436]] || bgcolor="#ff0000"| || ดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง และ ราชอาณาจักรลาว || 143,000 || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] || สนธิสัญญาสยาม–ฝรั่งเศส ร.ศ. 112 (Traité franco-siamois du 3 octobre 1893)
|-
| [[12 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2446]] || bgcolor="#ff0000"| || ดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขง ([[จำปาศักดิ์]] [[ไชยบุรี]]) || 25,500 || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] || [[สนธิสัญญาสยาม–ฝรั่งเศส ร.ศ. 122]]
|-
| [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2450]] || bgcolor="#ff0000"| || [[พระตะบอง]] [[เสียมราฐ]] [[ศรีโสภณ]] || 51,000 || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] ([[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3|ฝรั่งเศส]]) || หนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม รัตนโกสินทรศก 125<ref name="Treaty2450">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2450/014/344_1.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๔ หน้า ๓๔๔ วันที่ ๗ กรกฎาคม ๑๒๖]</ref>
|-
| [[10 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2452]] || bgcolor="#ff0000"| || [[ไทรบุรี]] [[ปะลิส]] [[กลันตัน]] [[ตรังกานู]] || 38,455 || [[ไฟล์:Flag of the Federated Malay States (1895 - 1946).svg|22px|border]] [[สหภาพมาลายา]] ([[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|อังกฤษ]]) || สัญญาในระหว่างกรุงสยามกับกรุงอังกฤษ<ref name="Treaty2452"/>
|-
| [[9 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2484]] || bgcolor="#008000"| || [[จำปาศักดิ์]] [[ไชยบุรี]] [[พระตะบอง]] [[เสียมราฐ]] || 51,326 || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] || อนุสัญญาสันติภาพระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศส<ref name="Treaty24841"/>
|-
| [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2484]] || bgcolor="#008000"| || เกาะดอนต่างๆ ใน[[แม่น้ำโขง]] 77 แห่ง || ? || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] || แถลงการณ์ เรื่อง ได้คืนเกาะดอนต่าง ๆ ในลำแม่น้ำโขง ตามความตกลงกำหนดเส้นทางเขตต์แดนชั่วคราวระหว่างประเทศไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส<ref name="Treaty24842"/>
|-
| [[9 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2489]] || bgcolor="#ff0000"| || [[จำปาศักดิ์]] [[ไชยบุรี]] [[พระตะบอง]] [[เสียมราฐ]]</br>และเกาะดอนต่างๆ ใน[[แม่น้ำโขง]] 77 แห่ง || ? || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] || ความตกลงระงับกรณีระหว่างประเทศไทยและประเทศฝรั่งเศส (อนุสัญญาโตเกียว)<ref name="Treaty2489"/>
|}
 
=== พ.ศ. 2450 ===
เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2450 (พ.ศ. 2449 เดิม) รัฐบาลสยามและรัฐบาลฝรั่งเศสได้ร่วมกันลงนามใน'''หนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม รัตนโกสินทรศก 125''' พร้อมด้วย'''สัญญาว่าด้วยปักปันเขตร์แดน ติดท้ายหนังสือสัญญาลงวันที่ 23 มีนาคม รัตนโกสินทรศก 125''' ซึ่งลงนามโดย[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]]และนายวี คอลแลง (เดอ ปลังซี) โดยมีเนื้อหาสาระสำคัญดังต่อไปนี้<ref name="Treaty2450"/>
* รัฐบาลสยามยอมยกดินแดนเมืองพระตะบอง เมืองเสียมราฐ กับเมืองศรีโสภณ ให้แก่กรุงฝรั่งเศส (ข้อ 1)
* รัฐบาลฝรั่งเศสยอมยกดินแดนเมืองด่านซ้าย และเมืองตราด กับทั้งเกาะทั้งหลายซึ่งอยู่ภายใต้แหลมลิง<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2450/014/368.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๔ หน้า ๓๖๘ วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๑๒๖]</ref>ไปจนถึงเกาะกูดนั้นให้แก่กรุงสยาม (ข้อ 2)
 
=== พ.ศ. 2452 ===
เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2452 (พ.ศ. 2451 เดิม) รัฐบาลสยามและรัฐบาลอังกฤษได้ร่วมกันลงนามใน'''สัญญาในระหว่างกรุงสยามกับกรุงอังกฤษ'''<ref name="Treaty2452">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/701.PDF ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ กรกฎาคม ๑๒๘ เล่ม ๒๖ น่า ๗๐๑ สัญญาในระหว่างกรุงสยามกับกรุงอังกฤษ]</ref> และ'''สัญญาว่าด้วยเขตรแดน ติดท้ายหนังสือสัญญาลงวันที่ 10 มีนาคม รัตนโกสินทร์ศก 127 คฤสตศักราช 1909'''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/705.PDF ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ กรกฎาคม ๑๒๘ เล่ม ๒๖ น่า ๗๐๕ สัญญาว่าด้วยเขตรแดน ติดท้ายหนังสือสัญญาลงวันที่ ๑๐ มีนาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๗ คฤสตศักราช ๑๙๐๙]</ref> ซึ่งลงนามโดย[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]]และนายราลฟ์ แปชยิด โดยมีเนื้อหาสาระดังต่อไปนี้
* รัฐบาลสยามยอมโอนเมืองกลันตัน เมืองตรังกานู เมืองไทรบุรี เมืองปลิศ และเกาะที่ใกล้เคียงเมืองเหล่านั้นให้แก่รัฐบาลอังกฤษเพื่อยกเลิก[[สนธิสัญญาเบาว์ริง|สิทธิสภาพนอกอาณาเขต(สนธิสัญญาเบาว์ริง)]]
 
=== พ.ศ. 2484 ===
ภายหลัง[[กรณีพิพาทอินโดจีน]] เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 รัฐบาลไทยและรัฐบาลฝรั่งเศสได้ร่วมกันลงนามใน'''อนุสัญญาสันติภาพระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศส''' ณ กรุงโตเกียว โดยมีเนื้อหาสาระสำคัญดังต่อไปนี้<ref name="Treaty24841">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/A/857.PDF ราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๔๘๔ เล่ม ๕๘ หน้า ๘๕๗]</ref>
* เขตแดนระหว่างประเทศไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศสจากเหนือลงมาให้เป็นไปตามแม่น้ำโขงตั้งแต่จุดที่รวมแห่งเขตแดนประเทศไทย อินโดจีนฝรั่งเศส และพม่า ''[สามเหลี่ยมทองคำ]'' จนถึงจุดที่แม่น้ำโขงตัดเส้นขนานที่สิบห้า ''[บริเวณเมืองจำปาศักดิ์]''
* ใช้เส้นกลางร่องน้ำเดินเรือที่สำคัญยิ่งเป็นเขตแดน แต่เกาะโขงยังคงเป็นของอินโดจีนฝรั่งเศส ส่วนเกาะโขนตกเป็นของประเทศไทย
* เขตแดนจะลากต่อไปทางใต้ บรรจบกับเส้นเที่ยงซึ่งผ่านจุดที่พรมแดนระหว่างจังหวัดเสียมราฐกับจังหวัดพระตะบองจดทะเลสาบ (ปากน้ำสตึงกมบต) ''[บริเวณเมืองธาราบริวัตร์ ตรงข้ามเมืองสตึงแตรง จนถึงปากน้ำสตึงกมบต]''
* ใน[[ทะเลสาบเขมร]] เขตแดนได้แก่เส้นโค้งวงกลมรัศมี 20 กิโลเมตร จากจุดที่ระหว่างจังหวัดเสียมราฐกับจังหวัดพระตะบองจดทะเลสาบ (ปากน้ำสตึงกมบต) ไปบรรจบจุดที่พรมแดนระหว่างจังหวัดพระตะบองกับจังหวัดโพธิสัตว์จดทะเลสาบ (ปากน้ำสตึงดนตรี)
* ต่อจากปากน้ำสตึงดนตรีไปทางตะวันตกเฉียงใต้ เขตแดนใหม่จะเป็นไปตามพรมแดนระหว่างจังหวัดพระตะบองกับจังหวัดโพธิสัตว์จนถึงจุดที่พรมแดนนี้บรรจบกับเขตแดนระหว่างไทยและอินโดจีนฝรั่งเศส (เขากูป)
 
ภายใต้อนุสัญญานี้ อาณาเขตที่จะโอนมาเป็นของประเทศไทย ประกอบไปด้วยแคว้นหลวงพระบางฝั่งขวาแม่น้ำโขง แคว้นนครจำปาศักดิ์ฝั่งขวาแม่น้ำโขง เมืองเสียมราฐ และเมืองพระตะบอง โดยมีพื้นที่รวมประมาณ 51,326 ตารางกิโลเมตร โดยรัฐบาลไทยได้เข้าไปจัดระเบียบการปกครองและบริหารดินแดนดังกล่าวเสมือนดินแดนในประเทศไทยเป็นเวลากว่า 5 ปีครึ่ง
 
ต่อมาในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2484 รัฐบาลไทยยังได้รับเกาะดอนต่างๆ เป็นจำนวนถึง 77 แห่งในลำแม่น้ำโขงตามความตกลงกำหนดเส้นเขตต์แดนชั่วคราวระหว่างประเทศไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส<ref name="Treaty24842">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/A/1347.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๘ หน้า ๑๓๔๗ วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๔๘๔ แถลงการณ์ เรื่อง ได้คืนเกาะดอนต่าง ๆ ในลำแม่น้ำโขง ตามความตกลงกำหนดเส้นทางเขตต์แดนชั่วคราวระหว่างประเทศไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส]</ref>
 
=== พ.ศ. 2489 ===
ภายหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2489 รัฐบาลไทยและรัฐบาลฝรั่งเศสได้ร่วมกันลงนามใน'''ความตกลงระงับกรณีระหว่างประเทศไทยและประเทศฝรั่งเศส''' โดยมีเนื้อหาสาระสำคัญดังต่อไปนี้<ref name="Treaty2489">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/079/3.PDF ราชกิจจานุเบกษา ฉะบับพิเศษ หน้า ๓ ตอนที่ ๗๙ เล่ม ๖๓ ๙ ธันวาคม ๒๔๘๙ ความตกลงระงับกรณีระหว่างประเทศไทยและประเทศฝรั่งเศส']</ref><ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/079/26.PDF ราชกิจจานุเบกษา ฉะบับพิเศษ หน้า ๒๖ ตอนที่ ๗๙ เล่ม ๖๓ ๙ ธันวาคม ๒๔๘๙ ประกาศ ยกเลิกประกาศใช้อนุสัญญาสันติภาพและบรรดาภาคผนวกระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศส]</ref>
* อนุสัญญากรุงโตเกียว ฉบับวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1941 เป็นอันยกเลิก และสถานภาพก่อนอนุสัญญานั้นเป็นอันกลับสถาปนาขึ้น