ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสัญญาวอร์ซอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อนุสัญญาวอร์ซอ''' ({{lang-en|Warsaw Convention}}) หรือทางการคือ '''อนุสัญญาเพื่อการรวบรวมกฎเกณฑ์บางประการเกี่ยวกับการรับขนระหว่างประเทศทางอากาศ'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/056/16.PDF พระราชบัญญัติ การรับขนทางอากาศระหว่างประเทศ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐] เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๕๖ ก วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐</ref> ({{lang-en|Convention for the Unification of certain rules relating to international carriage by air}}) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศซึ่งกำหนดความรับผิดชอบของสายการบินต่อบุคคล, สัมภาระ, สินค้า ที่ขนส่งทางอากาศ
 
อนุสัญญาลงนามครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1929 ที่กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ และมีการถูกแก้ไขในปีค.ศ. 1955 ที่กรุงเพิ่มเติมหลายครั้งโด[[พิธีสารเฮก]] ประเทศเนเธอร์แลนด์ แก้ไขในปี(ค.ศ. 1971 ที่กัวเตมาลาซิตี ประเทศกัวเตมาลา<ref>เรียกว่า1955) และ[[พิธีสารกัวเตมาลาซิตี</ref>]] และแก้ไขในปี(ค.ศ. 1975 ที่นครมอนทรีออล ประเทศแคนาดา<ref>เรียกว่า พิธีสารมอนทรีออล</ref>1971)
 
ณ ปีค.ศ. 2015 อนุสัญญาวอร์ซอปี 1929 ได้รับสัตยาบันโดย 152 ประเทศ, พิธีสารเฮกปี 1955 กเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมได้รับสัตยาบันโดย 137 ประเทศ<ref>[https://www.icao.int/secretariat/legal/List%20of%20Parties/WC-HP_EN.pdf Parties 2015]</ref> ส่วนพิธีสารกัวเตมาลายังไม่มีการบังคับใช้ เนื่องจากมีสมาชิกให้สัตยาบันไม่ถึง 30 ประเทศ ประเทศไทยไม่ได้เป็นรัฐภาคีของสัญญาเหล่านี้
 
ณ ปีค.ศ. 2015 อนุสัญญาวอร์ซอปี 1929 ได้รับสัตยาบันโดย 152 ประเทศ, พิธีสารเฮกปี 1955 ได้รับสัตยาบันโดย 137 ประเทศ<ref>[https://www.icao.int/secretariat/legal/List%20of%20Parties/WC-HP_EN.pdf Parties 2015]</ref> ประเทศไทยไม่ได้เป็นรัฐภาคีของสัญญาเหล่านี้
==สาระสำคัญ==
=== ความรับผิดของผู้ขนส่ง ===
เส้น 12 ⟶ 13:
 
=== ค่าสินไหมทดแทน ===
{| class="wikitable" style="font-size:small;" border="1"
* ต่อการบาดเจ็บหรือเสียชีวิตของผู้โดยสาร เบื้องต้นไม่เกิน 113,000 [[สิทธิพิเศษถอนเงิน|SDR]] ต่อคน<ref>อนุสัญญาแรกกำหนดไว้ที่ 100,000 SDR</ref>
! ความรับผิด !! อนุสัญญาวอร์ซอ 1929 !! พิธีสารเฮก 1955
* ต่อความล่าช้าของผู้โดยสาร ไม่เกิน 4,694 [[สิทธิพิเศษถอนเงิน|SDR]] ต่อคน<ref>อนุสัญญาแรกกำหนดไว้ที่ 4,150 SDR</ref>
|-
* ต่อการถูกทำลาย สูญหาย เสียหาย หรือล่าช้า ของสัมภาระลงทะเบียน ไม่เกิน 1,130 [[สิทธิพิเศษถอนเงิน|SDR]] ต่อคน<ref>อนุสัญญาแรกกำหนดไว้ที่ 1,000 SDR</ref>
*| ต่อการถูกทำลาย สูญหาย เสียหาย บาดเจ็บหรือล่าช้า เสียชีวิตของสินค้าในความรับขนผู้โดยสาร ไม่เกิน|| 19≤125,000 ฟรังก์/คน<br>(ต่อมาแก้เป็น 8,300 [[สิทธิพิเศษถอนเงิน|SDR]]) ต่อกิโลกรัม|| ≤250,000 ฟรังก์/คน<refbr>อนุสัญญาแรกกำหนดไว้ที่(ต่อมาแก้เป็น 1716,600 [[สิทธิพิเศษถอนเงิน|SDR</ref>]])
|-
| ต่อความเสียหายของสัมภาระโหลดท้องเครื่อง || colspan = "2" align = "center"| 250 ฟรังก์/กิโลกรัม<br>(ต่อมาแก้เป็น 17 [[สิทธิพิเศษถอนเงิน|SDR]])
|-
| ต่อความเสียหายของสิ่งของติดตัวขึ้นเครื่อง || colspan = "2" align = "center"| ≤5,000 ฟรังก์/คน<br>(ต่อมาแก้เป็น 332 [[สิทธิพิเศษถอนเงิน|SDR]])
|}
ค่าสินไหมเคยกำหนดโดยใช้เงินฟรังก์ฝรั่งเศสเป็นหลัก แต่เนื่องด้วยเงิน 1 ฟรังก์มีส่วนผสมของทองคำ 65.5 มิลลิกรัม ทำให้ค่าเงินฟรังก์ขึ้นลงตามภาวะราคาทองคำในตลาดโลก การประชุมมอนทรีออลปีค.ศ. 1975 ได้กำหนดให้ใช้หน่วย SDR (สิทธิพิเศษถอนเงิน) ของ[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]]แทน
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}