ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสติปัฏฐานสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 126:
เกร็ด​เล็ก​เกร็ดน้อย​จาก​อรรถกถา​-​ฏีกาของสติปัฏฐานสูตร​และ​สติปัฏฐานสูตร มีดังนี้​ :-
 
# ใน​[[อรรถกถา]]​-​[[ฏีกา]]ท่านแนะ​ไว้​ใน [[​สัจจบรรพวรรณนา​รรพะวรรณนา​]] ของ[[ทีฆนิกาย]]ว่า​ ​ไม่​ควรกำ​หนด​ 4 ​บรรพะดังต่อไปนี้ก่อน​ ​คือ​ ​อิริยาบถบรรพะ​ ​สัมปชัญญบรรพะ​ ​นิวรณบรรพะ​ ​และ​โพชฌังคบรรพะ
​เพราะ​อิริยาบถ​ทั้ง​น้อย​และ​ใหญ่​ไม่​ใช่​สัมมสนรูป จึงไม่ใช่อารมณ์ของวิปัสสนา, นิวรณ์เป็นปหาตัพพธรรม ควรข่มให้ได้ก่อน ไม่ใช่มัวแต่สัมมสนะ แล้วปล่อยให้นิวรณ์เกิด,​ ​ส่วน​โพชฌงค์​ใน​ที่นี้ท่านหมาย​ถึง​โลกิยโพชฌงค์​ ​ซึ่ง​ถ้า​หากกำ​หนด​ให้​เบื่อหน่าย​แล้ว​ก็​จะ​ไม่​คิดเจริญต่อ​ ​ฉะ​นั้น​จึง​ไม่​ควรกำ​หนดตั้งแต่​แรก​.
# ​ใน​[[อรรถกถา]]ท่านกล่าวว่า​ [[สติปัฏฐาน​]] เป็น​วินัย​ทั้ง​ 2 ​คือ​ ​ทั้ง[[ตทังควินัย]]​และ​[[วิกขัมภนวินัย]] ​กล่าวคือ​ ​เป็น​ได้​ทั้ง​[[ขณิกสมาธิ​]]และ[[อัปปนาสมาธิ]]​ ​ซึ่ง​อีกที่หนึ่งก็กล่าว​ให้​บางบางบรรพะ​เป็น[[​สมถะ]]​และ​บางบรรพะ​เป็น​ [[วิปัสสนา​]] ​จึง​สรุป​ความ​ได้​ว่า​ [[สติปัฏฐาน​]]เป็น​ได้​ทั้ง​[[สมถะ​]]และ[[​วิปัสสนา]]​ อย่าง ​[[อิริยาบถบรรพะ]]​เป็น​ต้นท่านก็ว่า​เป็น​[[วิปัสสนา]]​ ​ส่วน​การ​จะ​ทำ​ฌาน​ให้​เป็น​สติปัฏฐาน​ได้​นั้น​ก​็ต้อง​ทำ​เพื่อ​เป็น​ บาทของวิปัสสนา​ ​และ​ถ้า​ไม่​ทำ​ฌานแต่​จะ​ทำ​[[สติปัฏฐาน]]ก็​ต้อง​ทำ​วิปัสสนา​ ​เพียงแต่การ​ได้[[​ฌาน​]]จะ​ช่วย​ให้​บรรลุ​ได้​สบายขึ้นกว่าคนที่​ไม่​ทำ​ฌาน มาก่อน​เท่า​นั้น​เอง​.