ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิงอ้ายเงียะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 29:
มีการกระจายพันธุ์พบใน[[เนปาล]] [[ภูฏาน]] [[สิกขิม]]และ[[รัฐอัสสัม]]ของ[[อินเดีย]] ภาคใต้ของ[[จีน]] ภาคเหนือของ[[พม่า]] ภาคเหนือของ[[เวียดนาม]] ภาคตะวันตกและ[[ภาคอีสาน]]ของ[[ไทย]] แบ่งเป็นชนิดย่อย 2 ชนิดได้แก่ '''ลิงอ้ายเงียะตะวันออก''' (''M. a. assamensis'') และ'''ลิงอ้ายเงียะตะวันตก''' (''M. a. pelops'') ซึ่งแบ่งตามสองฝั่งของ[[แม่น้ำพรหมบุตร]]
 
ลิงอ้ายเงียะในประเทศไทย ปัจจุบันนี้พบได้เพียง 9 แห่งเท่านั้น ได้แก่ วัดถ้ำปลา และวัดถ้ำผาแลนิภาราม จ.เชียงราย, บ้านป่าไม้ จ.เชียงใหม่, [[เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาท่าพล]]<ref>[[ศูนย์]][[วิจัย]][[ไพรเมท]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]</ref> จ.พิษณุโลก, อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองลาน จ.กำแพงเพชร, เขตรักษาพันธ์ป่าอุ้มผาง จ.ตาก, อุทยานแห่งชาติภูเขียว จ.ชัยภูมิ, เขื่อนเขาแหลม และ อุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณ จ.กาญจนบุรี และยังมีข้อมูลว่าพบที่อุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท จ.ลำปางอีกด้วยซึ่งถือว่าน้อยมาก ปัจจุบัน เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]]
 
== อ้างอิง ==