ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความผิดปรกติในความคิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 74:
มีรูปแบบย่อยที่ได้ตั้งชื่อหลายอย่างและอาจสับสนได้ง่าย โดยเฉพาะเมื่อกล่าวถึงโดยไม่ระบุว่าเป็นรูปแบบย่อยของความผิดปกติทางความคิด<ref>{{harvp | Thought Disorder | 2016 | loc = 25.4. What Are the Common Types of Thought Disorder?, pp. 498-499. }}</ref>
รูปแบบย่อยต่าง ๆ ที่อาจพบใน[[วรรณกรรม]]แพทย์รวมทั้ง
* '''[[อาการพูดน้อย]]''' (alogia หรือ poverty of speech)<ref name="alogia as a disorganization symptom" /> คือพูดน้อยไม่ว่าจะโดยปริมาณหรือโดยเนื้อความ ในการจัดอาการของโรคจิตเภทเป็นอาการเชิงบวกหรืออาการเชิงลบ มันเป็นอาการเชิงลบ แต่เมื่อจัดลงในหมวดหมู่ที่มากกว่านั้น การพูดน้อยโดยเนื้อความ (poverty of speech content) คือพูดสื่อความได้น้อยแม้ปริมาณคำพูดจะปกติ เป็นอาการสับสน (disorganization symptom) อย่างหนึ่ง เทียบกับการพูดน้อยโดยปริมาณ (poverty of speech) ที่เป็นอาการเชิงลบอย่างหนึ่ง<ref name="alogia as a disorganization symptom" /> ในแบบการวัดเพื่อประเมินอาการบกพร่องสำหรับ[[โรคจิตเภท]] ({{abbr |SANS| Scale for the Assessment of Negative Symptoms }}) ซึ่งใช้ในงานวิจัยทางคลินิก อาการความคิดชะงัก (thought blocking) และการเพิ่มความล่าช้าในการตอบ (increased latency in response) ก็จัดเป็นส่วนของอาการพูดน้อยด้วย<ref name=Sadock2008-Table-6-5 />
* '''อาการความคิดชะงัก''' (thought blocking)<ref name=Sadock2017-Table7.1-6>{{cite book | editor1-last = Sadock | editor1-first = Virginia A | editor2-last = Sadock | editor2-first = Benjamin J | editor3-last = Ruiz | editor3-first = Pedro | year = 2017 | title = Kaplan & Sadock's Comprehensive Textbook of Psychiatry | edition = 10th | isbn = 978-1-4511-0047-1 | publisher = Wolters Kluwer | last1 = Houghtalen | first1 = Rory P | last2 = McIntyre | first2 = John S | chapter = 7.1 Psychiatric Interview, History, and Mental Status Examination of the Adult Patient | at = HISTORY AND EXAMINATION, Thought Process/Form, Table 7.1-6. Examples of Disordered Thought Process/Form}} indicates and briefly defines the follow types: Clanging, Circumstantial, Derailment (loose associations), Flight of ideas, Incoherence (word salad), Neologism, Tangential, Thought blocking
</ref> คือการคิดชะงักไปโดยยังไม่จบเรื่อง คนไข้อาจหรือไม่อาจดำเนินความคิดต่อไปได้<ref name=Videbeck>{{cite book | last = Videbeck | first = S | title = Psychiatric-Mental Health Nursing, 4th ed. | year = 2008 | publisher = Wolters Kluwers Health, Lippincott Williams & Wilkins | location = Philadelphia}}
บรรทัด 125:
</ref> มักตอบคำถามอย่างอ้อม ๆ<ref>{{harvp | Kaplan & Sadock's Comprehensive Textbook of Psychiatry | 2017 | loc = Appendix B Glossary of Psychiatry and Psychology Terms }} '''tangentiality''' Disturbance in which the person replies to a question in an oblique, digressive, or even irrelevant manner and the central idea is not communicated. ...
</ref><ref name=Videbeck/> เช่น สำหรับคำถาม "คุณมาจากไหน" ตอบว่า "สุนัขของผมมาจากประเทศอังกฤษ ปลาและแผ่นมันฝรั่งทอดที่นั่นอร่อย ปลาหายใจด้วยเหงือก"
* '''อาการพูดหรือเขียนซ้ำ ๆ อย่างไร้ความหมาย''' (verbigeration)<ref name=K&S2017-Continuity>{{harvp | Clinical Manifestations of Psychiatric Disorders | 2017 | loc = THINKING DISTURBANCES, Continuity. }} "Word salad describes the stringing together of words that seem to have no logical association, and verbigeration describes the disappearance of understandable speech, replaced by strings of incoherent utterances."
</ref> เป็นคำหรือวลีที่พูดหรือเขียนซ้ำ ๆ และไร้ความหมายโดยใช้แทนที่คำพูดที่เข้าใจได้ ดังที่เห็นในโรคจิตเภท<ref name=K&S2017-Continuity /><ref>{{harvp | Kaplan and Sadock's Concise Textbook of Clinical Psychiatry | 2008 | loc = "Chapter 4 Signs and Symptoms in Psychiatry", GLOSSARY OF SIGNS AND SYMPTOMS, p. 32 }}</ref>
* '''การสร้างคำเลียน''' (word approximations) คือใช้คำเก่าสร้างคำใหม่อย่างไม่ถูกต้อง แต่ที่มาของคำสามารถเข้าใจได้ ตัวอย่างภาษาอังกฤษเช่น เช่น "headshoe"-รองเท้าศีรษะ แทน hat-หมวก<ref name=Saddock2008-neologism />