ผลต่างระหว่างรุ่นของ "90377 เซดนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปิดใช้งานแจ้งเป็นแสปมจสกผํใช้อุปกรณ์ฯ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
| กึ่งแกนเอก = {{val|506.8|u=AU}}<ref name="Malhotra_Volk_Wang"/><ref name="barycenter" /><br />{{val|7.573|e=10|u=km}}
| ความเยื้องศูนย์กลาง = {{val|0.85491|.00029}}
| คาบดาราคติ = ≈&thinsp;{{val|11400|u=[[ปีจูเลียน (ดาราศาสตร์)|yr]]}}<ref name="barycenter" />{{refn|1=เมื่อทราบ[[ความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร]]ของวัตถุนี้ [[จุดเริ่มยุค]]ที่แตกต่างกันให้วิธีแก้ปัญหาที่มีศูนย์กลางที่ดวงอาทิตย์ ไร้การรบกวน และเหมาะสมที่สุดกับ[[ปัญหาสองวัตถุ]]ของคาบการโคจรที่แตกต่างกัน โดยใช้จุดเริ่มยุค 1990 เซดนามีคาบการโคจรอยู่ที่ 12,100 ปี<ref name="DES" /> แต่เมื่อใช้จุดเริ่มยุค 2017 เซดนามีคาบการโคจรอยู่ที่ 10,900 ปี<ref name="jpldata" /> สำหรับวัตถุที่วงโคจรเยื้องมาก พิกัดแบรีเซนเตอร์ของดวงอาทิตย์จะเสถียรมากกว่าพิกัดที่ศูนย์กลางดวงอาทิตย์<ref name="Kaib2009" /> โดยใช้ [[JPL Horizons On-Line Ephemeris System|JPL HorizonsHorizonววs]] คาบการโคจรอิงตามแบรีเซนเตอร์อยู่ที่ประมาณ 11,400 ปี<ref name="barycenter" />|name=footnoteG|group=lower-alpha}}
| อัตราเร็วเฉลี่ยในวงโคจร = 1.04 กิโลเมตร/วินาที
| มีนอนิมัลลี = {{val|358.163|.0054|u=°}}
บรรทัด 45:
 
=== การตั้งชื่อ ===
ในระยะแรก ไมก์ บราวน์ ตั้งชื่อเล่นให้กับเซดนาว่า "[[ฟลายอิงดัตช์แมน|เดอะฟลายอิงดัตช์แมน]]" หรือแค่ "ดัตช์" ตามชื่อเรือผีสิงในตำนาน เนื่องด้วยการเคลื่อนที่ที่ช้าที่ทำให้ทีมงานรู้ว่าดาวนั้นมีตัวตนอยู่<ref>{{cite book |title=How I Killed Pluto And Why It Had It Coming |author=[[Michael E. Brown]] |publisher=Spiegel & Grau |year=2012 |location=New York |isbn=978-0-385-53110-8 |page=96}}</ref> สำหรับชื่ออย่างเป็นทางการ ไมก์ บราวน์ เลือกชื่อเซดนา ชื่อจากเทพปกรณัมอินุต ซึ่งบราวน์เลือกด้วยเหตุผลส่วนหนึ่งว่าอินุตเป็นกลุ่มชนขั้วโลกที่อยู่ใกล้บ้านของเขาที่สุดที่ปาซาเดนา และเหตุผลอีกส่วนหนึ่งว่าชื่อนั้นสะกดง่าย ไม่เหมือนกับ[[ควาอัวร์]]<ref>{{cite book |title=How I Killed Pluto And Why It Had It Coming |author=[[Michael E. Brown]] |publisher=Spiegel & Grau |year=2012 |location=New York |isbn=978-0-385-53110-8 |page=103}}</ref> บนเว็บไซต์ของเขา เขาเขียนว่า {{cquote|วัตถุที่ค้นพบใหม่ของเรานั้นหนาวที่สุด อยู่ไกลที่สุดในระบบสุริยะ ดังนั้นเราจึงรู้สึกว่ามันเหมาะสมที่จะตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่[[เซดนา (เทพปกรณัม)|เซดนา]] [[เทพปกรณัมอินุต|เทพีอินุต]]แห่งท้องทะเล ผู้ซึ่งเชื่อกันว่าอาศัยอยู่ ณ ก้นของ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]อันเยือกเย็น<ref name="mikebrown"/>}} ไมเคิล บราวน์ยังเสนอต่อศูนย์ดาวเคราะห์น้อยของ[[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]]ว่าวัตถุใด ๆ ที่จะค้นพบในอนาคต ถ้าอยู่ในบริเวณเดียวกับเซดนา ควรตั้งชื่อตามสิ่งที่อยู่ในเทพปกรณัมอาร์กติก<ref name="mikebrown" /> ทีมผู้ค้นพบตีพิมพ์ชื่อ "เซดนา" ก่อนการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ<ref name="mpc" /> [[ไบรอัน มาร์สเดน]] ผู้อำนวยการศูนย์ดาวเคราะห์น้อย กล่าวว่าการทำเช่นนี้เป็นการละเมิดพิธีสารและอาจมีนักดาราศาสตร์ของสหพันธ์ดาราศาสตร์สากลโต้แย้ง<ref name="Walker" /> ถึงกระนั้น ไม่มีข้อคัดค้านใด ๆ ต่อชื่อนี้เลย และไม่มีชื่ออื่นใดเสนอเข้ามา การประชุมของคณะกรรมการร่างชื่อวัตถุขนาดเล็กจึงยอมรับชื่อ "เซดนา" ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547<ref name="MPC_20040928" /> และอนุญาตให้มีการตั้งชื่อก่อนที่จะได้รับชื่ออย่างเป็นทางการ สำหรับกรณีที่น่าสนใจเป็นพิเศษที่คล้ายกัน<ref name="mpc" />
 
== วงโคจรและการโคจร ==