ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดักลาส แมกอาเธอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Warakorn sabaibang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล นักการทหาร
| ชื่อ = จอร์จดักลาส เอส. แพตตันแมกอาร์เธอร์
| รูปภาพ = [[ไฟล์:MacArthur(2).jpg|210px]]<br />[[ไฟล์:DMacarthur_Signature.svg|200px]]
| คำอธิบาย =พลเอก ดักลาส แมกอาร์เธอร์ (ถ่ายเมื่อปี พ.ศ. 2486 หรือ 2487)
| เกิด = 26 มกราคม พ.ศ. 2423
| ถึงแก่กรรม = 5 เมษายน พ.ศ.2507 (84ปี)
บรรทัด 20:
[[ไฟล์:Douglas MacArthur lands Leyte.jpg|thumb|200px|พลเอกแมกอาร์เธอร์กลับคืนสู่ฟิลิปปินส์ใน[[การรบที่อ่าวเลเต]] หลังจากถอยจากการบุกของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2]]
 
จอมพล '''จอมพลดักลาส แมกอาร์เธอร์''' (Douglas MacArthur; [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2423]] - [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2507|2507]])
เป็นพลเอก[[ทหารบก]]ชาว[[อเมริกัน]] ที่มีชื่อเสียงในการบัญชาการรบภาคพื้นแปซิฟิก ในสมัยสงคราม[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เป็นผู้บัญชาการผู้ที่ให้ญี่ปุ่นจดสนธิสัญญาพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายพันธมิตร ณ เรือประจัญบาน[[ยูเอสเอส มิสซูรี(BB-63)|ยูเอสเอส มิสซูรี]] นอกจากนี้เขายังเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้ ญี่ปุ่น พัฒนาอย่างรวดเร็ว และยังเป็นผู้บัญชาการสมัย[[สงครามเย็น]] ใน[[สงครามเกาหลี]] อีกด้วย
 
==ประวัติ==
บรรทัด 28:
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] แมกอาร์เธอร์ได้เป็นผู้บัญชาการกองกำลังสหรัฐฯ ในตะวันออกไกลและได้ช่วงชิงพื้นที่[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ด้านตะวันตกเฉียงใต้จาก[[ประเทศญี่ปุ่น]] (พ.ศ. 2485-2488) โดยใช้[[ประเทศออสเตรเลีย]]เป็นฐาน ถ้อยวลีที่มีชื่อเสียงที่แมกอาเธอร์กล่าวแก่ชาวฟิลิปปินส์ระหว่างถอยหนีกองทัพญี่ปุ่นในฟิลิปปินส์คือ "ข้าพเจ้าจะกลับมา" (I Shall Return) และเมื่อกลับมาตามคำสัญญาหลังการถอยไปตั้งหลักที่ออสเตรเลีย แมกอาเธอร์ได้ประกาศอีกครั้งในขณะที่เดินลุยน้ำลงจากเรือที่[[อ่าวเลย์เต]]ว่า "ข้าพเจ้ากลับมาแล้ว" (I Have Returned) เมื่อวันที่ [[20 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2487]] ซึ่งเป็นภาพถ่ายข่าวสงครามที่ดีที่สุดภาพหนึ่ง
 
พลเอกแมกอาร์เธอร์ทำหน้าที่เป็นผู้รับการยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไขเป็นทางการของญี่ปุ่น เนื่องจากเขามีเชื้อสายของ พลเรือจัตวา [[แมทธิว ซี. เพร์รี|แมททิว คราวเรท เพอรี่]] ผู้ที่เคยบีบให้ญี่ปุ่นเปิดประเทศในปี พ.ศ. 2397 และดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการยึดครองประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ พ.ศ. 2488-2494 เป็นผู้จัดการให้มีการร่าง[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับใหม่ของญี่ปุ่นที่กำหนดให้สมเด็จพระจักรพรรดิอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญและห้ามมีกองกำลังทหาร ทำให้ญี่ปุ่นมุ่งเน้นด้านเศรษฐกิจและฟื้นตัวได้เร็วขึ้นเนื่องจากไม่ต้องใช้งบประมาณและทรัพยากรเพื่อการป้องกันประเทศ
 
ในปี พ.ศ. 2493 แมกอาร์เธอร์ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการ[[กองกำลังสหประชาชาติ]]ใน[[สงครามเกาหลี]] เกือบจะสามารถเอาชนะ[[เกาหลีเหนือ]] แต่ก็ถูกปลดออกจากหน้าที่ เนื่องจากการเตรียมบุก[[ประเทศจีน]] และเสนอให้มีการใช้[[ระเบิดปรมาณู]] กับประเทศจีนซึ่งเป็นผู้สนับสนุนหลักของเกาหลีเหนือในสงครามเกาหลี ซึ่งเป็นการพยายามฝ่าฝืนคำสั่งของประธานาธิบดี[[แฮร์รี เอส. ทรูแมน]]