ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนกาญจนาภิเษก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cassius12 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Cassius12 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| length_ref =
| established = พ.ศ. 2521
| history = ก่อสร้าง พ.ศ. 2521, พ.ศ. 2535, พ.ศ. 2538, พ.ศ. 2541, พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2550
| allocation =
| ahn = {{AH|2|T}} (ตลอดทั้งสาย)
บรรทัด 75:
'''ถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันตก''' (บางปะอิน–บางบัวทอง–บางขุนเทียน) เป็นถนนส่วนที่สร้างขึ้นก่อนด้านอื่น ๆ มีระยะทางรวม 68 กิโลเมตร ประกอบด้วยช่วงต่าง ๆ ได้แก่ ช่วงบางปะอิน–บางบัวทอง เป็นทางขนาด 4–6 ช่องจราจร ระยะทาง 44 กิโลเมตร และช่วงบางบัวทอง−บางขุนเทียน เป็นทางขนาด 10–12 ช่องจราจร ระยะทาง 24 กิโลเมตร<ref name="กรมทางหลวง"/> สัญลักษณ์ทางหลวงแสดงด้วยป้ายหมายเลข 9 พื้นหลังสีเขียว เนื่องจากมีลักษณะของถนนเป็นทางหลวงพิเศษแต่ไม่มีการเก็บค่าผ่านทาง
 
[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340|ถนนตลิ่งชัน–สุพรรณบุรี]] (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340) สร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2521 ต่อมาได้สร้างช่วงบางบัวทอง–บางปะอินแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2538 ซึ่งเป็นส่วนต่อขยายจาก[[อำเภอบางบัวทอง|บางบัวทอง]]ไปบรรจบกับ[[ถนนพหลโยธิน]] บริเวณ[[ทางแยกต่างระดับบางปะอิน 1]] แล้วได้ยุบรวมกับถนนสายบางขุนเทียน–ตลิ่งชัน ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2535 เป็น '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37''' จากนั้นมีการขยายทางช่วงบางขุนเทียน–บางบัวทอง ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2541 มีระยะทางรวมตลอดทั้งสาย 68 กิโลเมตร โดยเมื่อรวมช่วงบางขุนเทียน-สุขสวัสดิ์ หรือถนนกาญจนาภิเษกด้านใต้ที่เป็นของกรมทางหลวง จะมีระยะทาง 84 กิโลเมตร<!--(ตามหลักกิโลเมตร)--> อยู่ในการดูแลของสำนักทางหลวงที่ 11 (กรุงเทพมหานคร)
 
ในเขต[[กรุงเทพมหานคร]] เริ่มตั้งแต่ทางแยกต่างระดับบางขุนเทียน [[เขตบางขุนเทียน]] ตัด[[ทางรถไฟสายแม่กลอง]]เข้าสู่[[เขตบางบอน]] ตัด[[ถนนเอกชัย]]ที่กิโลเมตรที่ 15 ข้ามคลองบางโคลัดเข้าสู่พื้นที่[[เขตบางแค]] ตัด[[ถนนกัลปพฤกษ์]]ที่กิโลเมตรที่ 17 ข้าม[[คลองภาษีเจริญ]] ตัด[[ถนนเพชรเกษม]]ที่กิโลเมตรที่ 21 ช่วงตั้งแต่สะพานข้ามคลองบางเชือกหนังถึงสะพานข้ามคลองมหาสวัสดิ์เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่าง[[เขตทวีวัฒนา]]กับ[[เขตตลิ่งชัน]] (จนถึงกิโลเมตรที่ 29+599) ส่วนบริเวณ[[คลองมหาสวัสดิ์]]เชื่อมต่อกับ[[ทางพิเศษศรีรัช]] ช่วงบางซื่อ–วงแหวนรอบนอกฝั่งตะวันตก บริเวณจุดตัดทางรถไฟสายใต้ ใกล้โรงกรองน้ำมหาสวัสดิ์ โดยแนวสายทางหลักจะลอดใต้สะพานข้ามคลองมหาสวัสดิ์ และก่อสร้างทางต่างระดับสำหรับทางขึ้นลงทางพิเศษฯ
บรรทัด 428:
 
{{สร้างปี|2521}}
{{สร้างปี|2535}}
{{สร้างปี|2538}}
{{สร้างปี|2541}}