ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระธยานิพุทธะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ +เนื้อหา
บรรทัด 1:
[[Image:'The Dhyani Buddha Akshobhya', Tibetan thangka, late 13th century, Honolulu Academy of Arts.jpg|thumb|right|300px|' พระธยานิพุทธะ ศิลปะทิเบต ]]
'''พระธยานิพุทธะ'''หรือพระฌานิพุทธะ (บางแห่งเรียกพระชินพุทธะ) เป็นพระพุทธเจ้าในคติความเชื่อของ[[มหายาน]] อวตารมาจาก[[อาทิพุทธะ]] สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าด้วยอำนาจฌานของอาทิพุทธะ ไม่ได้ลงมาสร้างบารมีเหมือนพระมานุสสพุทธะ (พระพุทธเจ้าที่เป็นมนุษย์) ดำรงในสภาวะสัมโภคกาย มีแต่[[พระโพธิสัตว์]]ที่เห็นพระองค์ได้
==จำนวน==
พระธยานิพุทธะโดยทั่วไปมี 5 พระองค์ คือ [[พระไวโรจนะพุทธะ]] [[พระอักโษภยะพุทธะ]] [[พระรัตนสัมภวะพุทธะ]] [[พระอมิตาภะพุทธะ]] และ[[พระอโมฆสิทธิพุทธะ]] พระธยานิพุทธะ ทั้ง 5 องค์นี้ได้สร้างพระธยานิโพธิสัตว์ขึ้นด้วยอำนาจฌานของตนอีก 5 องค์ คือ [[พระสมันตภัทรโพธิสัตว์]] เกิดจากพระไวโรจนะพุทธะ [[พระวัชรปาณีโพธิสัตว์]] เกิดจากพระอักโษภยะพุทธะ [[พระรัตนปาณีโพธิสัตว์]] เกิดจากพระรัตนสัมภวะพุทธะ [[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]] เกิดจากพระอมิตาภะพุทธะ และ[[พระวิศวปาณีโพธิสัตว์]] เกิดจากพระอโมฆสิทธิพุทธะ
{|border="0" cellspacing="5"
|
|align = "center"|[[พระอักโษภยะพุทธะ]]
(ตะวันออก)
|
|-
|align = "center"|[[พระอโมฆสิทธิพุทธะ]]
(เหนือ)
|align = "center"|[[พระไวโรจนะพุทธะ]]
(ศูนย์กลาง)
|align = "center"|[[พระรัตนสัมภวะพุทธะ]]
(ใต้)
|-
|
|align = "center"|[[พระอมิตาภะพุทธะ]]
(ตะวันตก)
|
|}
ชื่อในภาษาต่างๆได้แก่:
{|class="wikitable"
|-
!พุทธะ
![[ภาษาสันสกฤต]]
![[ภาษาญี่ปุ่น]]
![[ภาษาจีน]]
|-
|'''[[พระไวโรจนะพุทธะ]]'''
|वैरोचन
|大日如来, Dainichi Nyorai
|毘盧如來, ''Pilu Rulai''
|-
|'''[[พระอักโษภยะพุทธะ]]'''
|अक्षोभ्य
|阿閃如来, Ashuku Nyorai
|阿閃如來, ''Ajiu Rulai''
|-
|'''[[พระอมิตาภะพุทธะ]]'''
|अमिताभ
|阿弥陀如来, Amida Nyorai
|彌陀如來, ''Mituo Rulai''
|-
|'''[[พระรัตนสัมภวะพุทธะ]]'''
|रत्नसंभव
|宝生如来, Hōshō Nyorai
|寳生如來, ''Baosheng Rulai''
|-
|'''[[พระอโมฆสิทธิพุทธะ]]'''
|अमोघसिद्धि
|不空成就如来, Fukūjōju Nyorai
|成就如來, ''Chengjiu Rulai''
|}
 
 
== ลักษณะของแต่ละพระองค์ ==
 
{| class="wikitable"
!โคตร
!พุทธะ
!ปัญญาญาณ
!กิเลส
!ขันธ์
!ปฏิกิริยา
!สัญลักษร์
!ธาตุ
!สี
!ฤดูกาล
!ทิศทาง
![[มุทรา]]
|-
|พุทธะ
|[[พระไวโรจนะพุทธะ]]
|ปัญญาอันสูงสุด
|ignorance
|วิญาณขันธ์
|หมุนธรรมจักร (การสอน)
|[[ธรรมจักร]]
|[[อากาศธาตุ]]
|สีขาว
|ไม่มี
|ศูนย์กลาง
|ธรรมจักรมุทรา
|-
|รัตนะ
|[[พระรัตนสัมภวะพุทธะ]]
|เท่าเทียม
|greed pride
|ความรู้สึก
|ความร่ำรวย
|[[เพชรพลอย]]
|[[ธาตุดิน]]
|สืทอง สีเหลือง
|autumn
|ใต้
|ทานมุทรา
|-
|ปัทมะ
|[[พระอมิตาภะ]]
|ปัญญาที่ทำให้มนุษย์รู้จักผิดชอบชั่วดี
|ความปราถนา
|perception
|magnetizing, subjugating
|[[ดอกบัว]]
|[[ธาตุไฟ]]
|สีแดง
|[[ฤดูใบไม้ผลิ]]
|ตะวันตก
|สมาธิมุทรา
|-
|กรรมะ
|[[พระอโมฆสิทธิพุทธะ]]
|แบบสำเร็จทุกอย่าง
|ความอิจฉา
|mental formation, concept
|pacifying
|ดาบ
|[[ธาตุลม]]
|สีเขียว
|[[ฤดูร้อน]]
|เหนือ
|อภยมุทรา
|-
|วัชระ
|[[พระอักโษภยะพุทธะ]]
|แบบกระจกเงา
|ความโกรธ
|รูปขันธ์
|การปกป้องและการทำลาย
|สายฟ้า, [[วัชระ]]
|[[ธาตุน้ำ]]
|สีน้ำเงิน
|[[ฤดูหนาว]]
|ตะวันออก
|earth-touching
|}
 
==การนับถือในประเทศต่างๆ==
* [[เนปาล]]และ[[ทิเบต]] นับถือพระธยานิพุทธะทั้ง 5 องค์ข้างต้น โดยถือว่าพระธยานิพุทธะเป็นตัวแทนของอายตนะภายใน 5 และพระธยานิโพธิสัตว์เป็นตัวแทนของอายตนะภายนอก 5 ซึ่งประกอบเป็นร่างกายของสรรพสัตว์ มีการกำหนดตำแหน่งของพระธยานิพุทธะแต่ละองค์ในพุทธมณฑลซึ่งใช้ในการประกอบพิธ๊กรรมทางศาสนานิกาย[[วัชรยาน]] รวมทั้งการกำหนดตำแหน่งของการประดิษฐานพระพุทธะเหล่านี้ไว้ในเจดีย์ในประเทศเนปาล