ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Suwarode (คุย | ส่วนร่วม)
David Supervid (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การศึกษา: เพิ่มเติมพระประวัติด้านการศึกษา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 37:
เนื่องจากทรงสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้วยคะแนนยอดเยี่ยม เมื่อมีพระดำริถึงการศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]จึงอนุมัติให้ทรงเข้าศึกษาในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได้โดยไม่ต้องผ่านมหาบัณฑิตก่อนทรงศึกษาด้วยพระวิริยะอุตสาหะใฝ่พระทัยในการศึกษาเล่าเรียนเป็นที่ยิ่งทั้งที่มีพระราชกิจในฐานะ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ]]ก็ยังเสด็จพระดำเนินไปทรงพระอักษรร่วมกับพระสหายในชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอตลอดจนทรงงานในห้องแล็บด้วยพระองค์เองอย่างไม่ทรงท้อถอยแม้จะทรงแพ้สารเคมีก็ตามโดยทรงทำวิทยานิพนธ์เรื่อง "Part I: Constituents of ''Boesenbergia pandurata'' (yellow rhizome) (Zingiberaceae). Part II: Additions of lithio chloromethyl phenyl sulfoxide to aldimines and alpha,beta-unsaturated compounds" และได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมีอินทรีย์ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2528
*'''ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สาขาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)''' [[คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] (หลักสูตรแบบไม่มีหน่วยกิตรายวิชา)ในปีการศึกษา 2549 จากผลงานวิจัยเรื่อง "Molecular Genetic Studies and Preliminary Culture Experiments of Scallops Bivalve: Pectinidae) in Thailand"
*'''ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาชีวภาพทางสัตวแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ)''' [[คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] ทรงวิทยานิพนธ์ เรื่อง “Effect of Morphine and Morphine-Tramadol Infusions in Sevoflurane-Anesthetized Dogs.”
*'''Doctor of Philosophy ([[Toxicology]])''' จาก [[มหาวิทยาลัยโตเกียว]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]
*'''ระดับหลังปริญญาเอก (Post Doctoral)''' ณ มหาวิทยาลัยอูล์ม [[ประเทศเยอรมัน]] เรื่อง Synthesis of Oligonucleotides Using Polymer Support and Their Applications in Genetic Engineering