ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราชกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
'''สมเด็จพระสังฆราช''' ({{lang-km|សម្តេចព្រះសង្ឃរាជ}} ''สมฺเตจพฺระสงฺฆราช''; {{lang-en|Supreme Patriarch}}) เป็นประมุขของ[[คณะสงฆ์กัมพูชา]]
 
== สมณศักดิ์ของผู้ดำรงตำแหน่งสังฆราช ==
ในประเทศกัมพูชา ซึ่งมีคณะสงฆ์เถรวาทอยู่ 2 นิกายหลัก คือ คณะมหานิกายและธรรมยุติกนิกาย ได้จัดการปกครองให้คณะสงฆ์แต่ละนิกายมีประมุขดำรงตำแหน่งพระสังฆราชของแต่ละนิกายเป็นเอกเทศ พระสงฆ์ผู้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชแต่ละพระองค์นั้นมีสมณศักดิ์ต่างๆ กัน ดังปรากฏตามบัญชีรายพระนามข้างท้ายบทความ แต่ในปัจจุบัน จะทรงมีสมณศักดิ์ดังต่อไปนี้
 
* สมเด็จพระสังฆราชคณะสงฆ์มหานิกาย ทรงมีสมณศักดิ์เป็นที่ '''"สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี"''' ({{lang-km|សម្តេចព្រះមហាសុមេធាធិបតី}} ''สมฺเตจพฺระมหาสุเมธาธิบตี'') คำว่า สุเมธาธิบดี แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในหมู่นักปราชญ์
* สมเด็จพระสังฆราชคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ทรงมีสมณศักดิ์เป็นที่ '''"สมเด็จพระสุคนธาธิบดี"''' ({{lang-km|សម្តេចព្រះសុគន្ធាធិបតី}} ''สมฺเตจพฺระสุคนฺธาธิบตี'') คำว่า สุคนธาธิบดี แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในหมู่ผู้มีกลิ่น คือ ศีล อันหอมฟุ้ง สมณศักดิ์นี้มีที่มาจากสมณศักดิ์ของสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกายกัมพูชาพระองค์แรก คือ [[สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน ปญฺญาสีโล)]]
 
ในยุคหลังได้มีการเพิ่มพูนสมณศักดิ์ของสมเด็จพระสังฆราชให้สูงขึ้นเป็น "สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี" ({{lang-km|សម្តេចព្រះអគ្គមហាសង្ឃរាជាធិបតី}} ''สมเตจพระอคฺคมหาสงฺฆราชาธิบตี'') และมีอำนาจปกครองคณะสงฆ์ทั่วประเทศ ทั้งนี้ ต่อมาได้มีการสถาปนาให้สมเด็จพระสังฆราชคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกายมีสถานะเป็น "มหาสังฆราชาธิบดี" เช่นกัน ในราชทินนาม "สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี" ({{lang-km|សម្តេចព្រះអភិសិរីសុគន្ធាមហាសង្ឃរាជាធិបតី}} ''สมฺเตจพฺระอภิสิรีสุคนฺธามหาสงฺฆราชาธิบตี'') แต่มีอำนาจปกครองเฉพาะคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายเท่านั้น
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:MahanikayBuddhMonksSynod opening ChuonNath-IndananoPhulTes UnnalomTemple 1960.tif|350px|thumb|[[สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ)]] สมเด็จพระสังฆราชคณะมหานิกายกัมพูชา (ขวาสุด) และสมเด็จพระมหาสุธรรมาธิบดี (ภุล เทส อินฺทญาโณ) สมเด็จพระสังฆราชคณะธรรมยุติกนิกายกัมพูชา (ลำดับที่ 2 จากทางขวาของภาพ) ขณะทรงเข้าร่วมพิธีเปิดการประชุมสังฆสภาของกัมพูชาประจำปี ค.ศ. 1961 (พ.ศ. 2504) ณ [[วัดอุณาโลม]] [[กรุงพนมเปญ]]]]
ใน ค.ศ. 1981 คณะสงฆ์กัมพูชามีการปรับปรุงโครงสร้างตามอย่าง[[คณะสงฆ์เวียดนาม]] และพระ[[เทพ วงศ์]] (ទេព វង្ស ''เทพ วงฺส'') ได้รับเลือกเป็นประธานการกสงฆ์ที่ปรับปรุงใหม่<ref>{{Harv|Harris|2001|p=75}}</ref><ref name="tv1">[[The Cambodia Daily|Cambodia Daily]] article on [http://ki-media.blogspot.com/2006/05/former-member-of-vietnamese-installed.html KI Media]</ref>
 
แต่เดิมมาการปกครองคณะสงฆ์กัมพูชานั้นไม่มีตำแหน่งสกลสังฆปริณายก คือ ผู้ปกครองสงฆ์ทั้งหมดทุกนิกายทั่วสังฆมณฑล คณะสงฆ์แต่ละนิกายต่างก็มีสมเด็จพระสังฆราชเป็นของตนเองและแยกกันปกครอง ไม่ขึ้นแก่กันมาตลอด กระทั่งกองทัพ[[เขมรแดง]]ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศกัมพูชาแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดในปี ค.ศ. 1975 การปกครองของคณะสงฆ์ทั้งสองนิกายในช่วงเวลาดังกล่าวจึงขาดช่วงไปอย่างสิ้นเชิง เนื่องจากรัฐบาล[[กัมพูชาประชาธิปไตย]]ของเขมรมีการกวาดล้างบรรดาศาสนาและลัทธิความเชื่อต่างๆ ทั่วประเทศ พระสงฆ์ในศาสนาพุทธถูกบังคับสึกให้ออกมาใช้แรงงานหรือถูกสังหารในกรณีที่ไม่ยอมสึก บางส่วนก็ต้องลี้ภัยออกไปยังต่างประเทศ
ถึงปี ค.ศ. 1991–2006 หลังจากกัมพูชาลงนามใน[[ข้อตกลงสันติภาพปารีส]] [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]] ได้ทรงสถาปนาพระเทพ วงศ์ เป็น'''สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี''' (សម្ដេចព្រះមហាសុមេធាធិបតី ''สมฺเตจพฺระมหาสุเมธาธิบตี'') สมเด็จพระสังฆราชในคณะ[[มหานิกาย]] และสถาปนาสมเด็จพระองค์ครู [[บัวร์ กรี]] (បួរ គ្រី ''บัวร กรี'') เป็น'''สมเด็จพระสุคนธาธิบดี''' (សម្តេចព្រះសុគន្ធាធិបតី ''สมฺเตจพฺระสุคนฺธาธิบตี'') สมเด็จพระสังฆราชในคณะ[[ธรรมยุติกนิกาย]] ทำให้ประเทศกัมพูชามี[[สังฆราช]] 2 พระองค์ และ[[รัฐธรรมนูญกัมพูชา]]ยังกำหนดให้สมเด็จพระสังฆราชทั้งสองพระองค์เป็นสมาชิกโดยตำแหน่งของ[[กรมปรึกษาราชบัลลังก์]] ซึ่งมีหน้าที่คัดเลือกผู้สืบราชสันตติวงศ์เป็น[[พระมหากษัตริย์กัมพูชา]]<ref>{{Harv|Harris|2001|p=77}}</ref>
 
เมื่อ[[แนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชา]]ได้โค่นล้มการปกครองของเขมรแดงและจัดตั้งรัฐบาล[[สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา]]ขึ้นแทนที่ในปี ค.ศ. 1979 แล้ว พุทธศาสนาในกัมพูชาจึงค่อยๆ ได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ ใน ค.ศ. 1981 คณะสงฆ์กัมพูชาได้มีการปรับปรุงโครงสร้างการปกครองตามอย่างคณะสงฆ์เถรวาทในประเทศเวียดนาม โดยจัดให้มีการปกครองคณะสงฆ์รวมกันเป็นคณะเดียวอยู่ในกำกับของรัฐบาล ไม่แบ่งแยกนิกาย มีตำแหน่งประมุขคณะสงฆ์เรียกว่า ประธานการกสงฆ์ โดยพระ[[เทพ วงศ์]] (ទេព វង្ស ''เทพ วงฺส'') ได้รับเลือกเป็นประธานการกสงฆ์ที่ปรับปรุงใหม่<ref>{{Harv|Harris|2001|p=75}}</ref><ref name="tv1">[[The Cambodia Daily|Cambodia Daily]] article on [http://ki-media.blogspot.com/2006/05/former-member-of-vietnamese-installed.html KI Media]</ref>
 
ถึงปี ค.ศ. 1991–2006 หลังจากกัมพูชาลงนามใน[[ข้อตกลงสันติภาพปารีส]] ค.ศ. 1991 [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]] ได้ทรงสถาปนาพระเทพ วงศ์ เป็น'''สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี''' (សម្ដេចព្រះមហាសុមេធាធិបតី ''สมฺเตจพฺระมหาสุเมธาธิบตี'') สมเด็จพระสังฆราชในคณะ[[มหานิกาย]] และสถาปนาสมเด็จพระองค์ครู [[บัวร์ กรี]] (បួរ គ្រី ''บัวร กรี'') เป็น'''สมเด็จพระสุคนธาธิบดี''' (សម្តេចព្រះសុគន្ធាធិបតី ''สมฺเตจพฺระสุคนฺธาธิบตี'') สมเด็จพระสังฆราชในคณะ[[ธรรมยุติกนิกาย]] ทำให้การปกครองคณะสงฆ์ประเทศกัมพูชากลับมาแยกกันปกครองเป็น 2 นิกาย และมี[[ผู้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช]] 2 พระองค์อีกครั้ง ทั้งนี้ และ[[รัฐธรรมนูญกัมพูชา]]ยังกำหนดให้สมเด็จพระสังฆราชทั้งสองพระองค์เป็นสมาชิกโดยตำแหน่งของ[[กรมปรึกษาราชบัลลังก์]] ซึ่งมีหน้าที่คัดเลือกผู้สืบราชสันตติวงศ์เป็น[[พระมหากษัตริย์กัมพูชา]]<ref>{{Harv|Harris|2001|p=77}}</ref>
 
ถึงปี ค.ศ. 2006 พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ทรงสถาปนาสมเด็จเทพ วงศ์ เป็น'''สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี''' (សម្តេចព្រះអគ្គមហាសង្ឃរាជាធិបតី ''สมเตจพระอคฺคมหาสงฺฆราชาธิบตี'') สมเด็จพระมหาสังฆราชในพระราชอาณาจักรกัมพูชา นับเป็นบุคคลแรกในรอบ 150 ปีที่ได้รับตำแหน่งพิเศษดังกล่าว<ref name="tv1" /> และสถาปนาพระนนท์ แงด (នន្ទ ង៉ែត) เป็นสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี สมเด็จพระสังฆนายกในคณะมหานิกายมาจนถึงปัจจุบัน<ref name="tv1" /> ต่อมาในปี ค.ศ. 2007 จึงได้มีการสถาปนาสมเด็จบัวร์ กรี ขึ้นเป็น'''สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี''' (សម្តេចព្រះអភិសិរីសុគន្ធាមហាសង្ឃរាជាធិបតី ''สมฺเตจพฺระอภิสิรีสุคนฺธามหาสงฺฆราชาธิบตี'') สมเด็จพระมหาสังฆราชในคณะธรรมยุตติกนิกายธรรมยุติกนิกายในพระราชอาณาจักรกัมพูชา โดยไม่ปรากฏว่ามีการแต่งตั้งผู้ใดขึ้นดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆนายกในคณะธรรมยุติกนิกายทดแทนอย่างเช่นในคณะมหานิกาย
 
== รายพระนามประมุขสงฆ์แห่งกัมพูชา ==