ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 20:
 
== สัญลักษณ์ของผู้นิพนธ์พระวรสาร ==
ในการวาดภาพผู้ผู้นิพนธ์พระวรสารแต่ละท่านจะมีสัญลักษณ์ต่างๆต่าง ๆ กันซึ่งมาจาก[[หนังสือเอเสเคียล]] บทที่ 1 และ[[หนังสือวิวรณ์]] (4.6-9 และต่อมา) แต่หนังสือทั้งสองก็มิได้บ่งบอกแน่นอนถึงสิ่งที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ของผู้ผู้นิพนธ์พระวรสาร สัญลักษณ์ที่ใช้เป็นสิ่งที่วิวัฒนาการขึ้นมาจนกระทั่งมาถึง ราบานุส มอรุส (Rabanus Maurus) ผู้บรรยายถึงความหมายของสิ่งที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ว่ามีความหมายเป็นสามขั้นตอน ขั้นแรกสัญลักษณ์ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนพระเยซู ขั้นที่สองเป็นสัญลักษณ์แทนการกระทำของพระองค์ และขั้นที่สามเป็นสัญลักษณ์สำหรับสำหรับคริสต์ศาสนิกชนผู้ซึ่งต้องได้รับการไถ่บาป
<ref>Emile Male, The Gothic Image , Religious Art in France of the Thirteen Century, p 35-7, English trans of 3rd edn, 1913, Collins, London (and many other editions) </ref>
::*'''นักบุญมัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร''' ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์ “พระวรสารนักบุญมัทธิว” ใช้สัญลักษณ์เป็นมนุษย์มิใช่เทวดาที่บางครั้งเชื่อกัน ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของมวลมนุษย์และสัญลักษณ์ของเหตุผล
::*'''นักบุญมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร''' ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์ “พระวรสารนักบุญมาระโก” ใช้สัญลักษณ์สิงโตมีปีกซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเก่งกล้าและความมีเชื้อสาย นักบุญมาระโกกล่าวว่า[[ยอห์นผู้ให้บัพติศมา]]เทศนาราวกับ “สิงโตคำราม” ในพระวรสารตอนต้นๆต้น ๆ นอกจากนั้นสิงโตยังใช้เป็นสัญลักษณ์แทน “[[การคืนพระชนม์ของพระเยซู]]” เพราะเชื่อกันว่าเวลาสิงโตนอนหลับจะลืมตาหลับเปรียบกับพระเยซูในหลุมศพและพระเยซูผู้เป็นกษัตริย์
::*'''นักบุญลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร''' ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์ “พระวรสารนักบุญลูกา” และ “หนังสือกิจการของอัครทูต” ใช้สัญลักษณ์วัว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเสียสละ การทำประโยชน์ และความแข็งแกร่ง
::*'''นักบุญยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร''' ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์ “พระวรสารนักบุญยอห์น” และ “หนังสือวิวรณ์” ใช้สัญลักษณ์อินทรี ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ และพระกิตติคุณของพระองค์