ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 120:
 
=== สมัยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ===
<!-- [[ไฟล์:ATrelations0018a-1.jpg|190x190px|thumb|พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะมีพระราชดำรัส ณ รัฐสภาแห่งสหรัฐ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2503]] -->
[[ไฟล์:King and Sarit.jpg|thumb|พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จฯ เยี่ยมจอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] เป็นการส่วนพระองค์ในปี พ.ศ. 2506]]
เมื่อรัฐบาลทหารของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เถลิงอำนาจแล้ว รัฐบาลได้ฟื้นฟูพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ โดยอนุญาตให้พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จออกประชาชนเป็นอันมาก ให้เสด็จประภาสในถิ่นทุรกันดาร และตั้งงบประมาณสนับสนุนโครงการพัฒนาที่พระองค์มีพระราชดำริริเริ่มด้วย โดยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ประกาศให้นำประเพณีหมอบกราบเข้าเฝ้า ซึ่งเลิกไปในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กลับมาใช้ใหม่ กับทั้งประกาศให้สถาปนา[[ธรรมยุติกนิกาย]]ขึ้นซ้ำด้วย นอกจากนี้ นับตั้งแต่[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติสยาม 2475]] สืบมา [[กระบวนพยุหยาตราชลมารค|ประเพณีการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราชลมารค]]ก็ได้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเพื่อถวายผ้าพระ[[กฐิน]]<ref name="evans1998">{{cite web |last=Evans |first=Dr. Grant |authorlink= |coauthors=citing Christine Gray |year=1998 |url=http://www.laosnet.org/fa-ngum/ewans.htm |title=The Politics of Ritual and Remembrance: Laos since 1975 |publisher=Laosnet.org |accessdate=5 July 2006}}</ref><ref name="autogenerated89">{{cite book |author=Evans, Dr. Grant |title=The Politics of Ritual and Remembrance: Laos since 1975 |publisher=University of Hawaii Press |year=1998 |pages=89–113 |isbn=0-8248-2054-1}}</ref>
 
พิธีกรรมตามโบราณประเพณีหลายอย่างของ[[ราชวงศ์จักรี]] เช่น[[วันพืชมงคล|พิธีกรรมพืชมงคล]] ก็มีประกาศให้ฟื้นฟู<ref>{{cite web |last=Klinkajorn |first=Karin |url=http://www.international.icomos.org/xian2005/papers/2-18.pdf |title=Creativity and Settings of Monuments and Sites in Thailand: Conflicts and Resolution |format=PDF|publisher=International Council on Monuments and Sites |accessdate=5 July 2006}}</ref> วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม) ก็ได้รับการประกาศให้เป็น[[วันชาติ (ประเทศไทย)|วันชาติไทย]] แทนที่วันที่ 24 มิถุนายน อันตรงกับวันที่[[คณะราษฎร]]ได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นผลสำเร็จด้วย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2503/D/043/1452.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ถือวันพระราชสมภพ เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทย], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 77 ตอน 43 24 พฤษภาคม 2503 หน้า 1452</ref>
บรรทัด 132:
 
=== สมัยรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ===
ในความโกลาหลครั้งนั้น ฝ่ายทหารก็เข้ายึดอำนาจอีกครั้ง และเสนอนามบุคคลสามคนให้พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเลือกเพื่อแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ประกอบด้วย [[ประกอบ หุตะสิงห์]] ประธานศาลฎีกา, [[ธรรมนูญ เทียนเงิน]] ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และ[[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]] ผู้พิพากษาศาลฎีกา<ref name="nationgracious">{{cite web |date=2 February 2007 |url=http://www.nationmultimedia.com/webblog/view_blog.php?uid=492&bid=1817%20His%20Gracious%20Majesty |title=His Gracious Majesty |publisher=The Nation |accessdate=25 September 2007}}{{dead link|date=August 2018}}</ref> ด้วยความที่ธานินทร์ กรัยวิเชียร มีเกียรติคุณดีที่สุด จึงได้รับการโปรดให้เป็นนายกรัฐมนตรี{{อ้างอิง}}
 
พระองค์มีพระราชดำรัสในพิธีประดับยศนายทหารชั้นนายพล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2519 ความตอนหนึ่งว่า
บรรทัด 139:
{{บทความหลัก2|เหตุระเบิดที่ยะลา 22 กันยายน พ.ศ. 2520}}
 
เดือนกันยายน 2520 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]], [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา]] และ [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์]] เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในจังหวัดภาคใต้
 
ในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2520 เวลา 15.15 น. ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, สมเด็จพระบรมราชินีนาถและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอทั้งสองพระองค์ประทับบนพลับพลาที่ประทับ ซึ่งมีประชาชนมาเฝ้ารับเสด็จฯราว 30,000 คน ก็ได้มีราษฏรที่มาเฝ้ารับเสด็จฯไปหยิบไฟแช็คดังกล่าวเป็นเหตุให้ระเบิดลูกแรกเกิดระเบิดขึ้น ราษฏรต่างพากันแตกตื่นและเหยียบกับระเบิดลูกที่สอง ทำให้ระเบิดลูกที่สองเกิดระเบิดขึ้น ระเบิดลูกแรกห่างจากพลับพลาที่ประทับ 60.15 เมตร ห่างจากลาดพระบาท 5.20 เมตร และระเบิดลูกที่สองห่างจากพลับพลาที่ประทับ 105.15 เมตร ห่างจากลาดพระบาท 6.00 เมตร แรงระเบิดทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 55 คน บาดเจ็บสาหัส 11 คน<ref>คดีพยายามลอบปลงพระชนม์ ร.๙ และพระราชินี คดีประวัติศาสตร์, บุญร่วม เทียมจันทร์ 2555</ref> ขณะที่เกิดความโกลาหลนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่และผู้บังคับบัญชาลูกเสือชาวบ้านได้เข้าระงับควบคุมฝูงชนอย่างฉับพลัน มีการใช้เครื่องขยายเสียงแบบมือถือที่เตรียมไว้แล้วปลอบโยนประชาชนมิให้ตื่นตระหนกและให้อยู่กับที่ ขณะเดียวกันก็มีการลำเลียงผู้บาดเจ็บไปยังโรงพยาบาล ในการนี้พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอทั้งสองพระองค์มิได้ทรงรับบาดเจ็บใด ๆ
 
ขณะเกิดเหตุนั้น พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงยืนประทับอยู่กับที่และทอดพระเนตรมองเหตุการณ์ต่าง ๆ พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ยืนรายล้อมถวายการอารักษา ในขณะที่พิธีการต้องหยุดชะงักชั่วครู่
 
ทั้งนี้ก่อนหน้าเหตุระเบิดราวราว 20 ชั่วโมง ก็ได้มีตำรวจขับรถจักรยานยนต์ฝ่าสัญญาณไฟจราจรพุ่งชนรถยนต์พระที่นั่งจนเกิดไฟลุกท่วม
 
ภายหลังเกิดเหตุ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจต่อไป โดยมิได้แสดงพระอาการปริวิตกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และมีพระราชดำรัสให้ทุกคนมีจิตใจเข้มแข็งไม่ตื่นเต้นต่อสถานการณ์ เมื่อจบคำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแล้ว สมเด็จเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา และสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ ซึ่งประทับอยู่ในพลับพลาฯทรงนำเหล่าราษฎรร้องเพลง “เราสู้”<ref>[http://somsakwork.blogspot.com/2006/10/6.html “เราสู้” หลัง 6 ตุลา]</ref> และภายหลังเสร็จพระราชกรณียกิจ เวลา 18.55 น. พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยียนผู้บาดเจ็บที่โรงพยาบาลจังหวัดยะลา
 
ธานินทร์ กรัยวิเชียรมีแนวคิดขวาจัด ทำให้เหล่านักศึกษาหนีเข้าป่าไปรวมกลุ่มกับ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย|พวกคอมมิวนิสต์]] รัฐบาลของธานินทร์ กรัยวิเชียร จึงถูกรัฐประหารนำโดย [[เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์|พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์]] ใน พ.ศ. 2523 และคณะรัฐประหารก็ตั้งพลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่
บรรทัด 168:
นอกจากนี้ ในวันที่ 22 กันยายน [[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]] โดย[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]] แพร่ภาพพิธีรับพระบรมราชโองการ แต่งตั้งหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แก่พลเอก สนธิ ซึ่งมีข้อสังเกตว่าประกาศฉบับดังกล่าว มีพลเอก สนธิเอง ในฐานะ[[รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย|ผู้บัญชาการทหารบก]] เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และลงวันที่ 20 กันยายน ขณะที่พิธีรับพระบรมราชโองการนั้น จัดให้มีขึ้นต่อมาในภายหลัง<ref>[[s:ประกาศ แต่งตั้งหัวหน้าคปค.|ประกาศ แต่งตั้งหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] จาก[[วิกิซอร์ซ]]</ref>
 
หลังจากพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549]] ในวันที่ [[1 ตุลาคม]] ปีเดียวกัน คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แปรสภาพเป็น '''คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ''' โดย หัวหน้า คปค. ดำรงตำแหน่ง '''ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ''' มีอำนาจหน้าที่ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ประธานสภานิติบัญญัติ ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ หลังจากนั้น จึงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง พลเอก [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]<ref name=autogenerated3>{{cite web |last=McGeown|first=Kate |date=21 September 2006 |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/5367936.stm |title=Thai king remains centre stage|publisher=BBC News |accessdate=2007-09-25}}</ref>“
 
[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] ได้พระราชทานสัมภาษณ์ในรายการโดยอ้างว่าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเสียพระทัยต่อเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองและการเสียพระทัยจากเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองนำไปสู่พระอาการประชวรเป็นไข้ ใจความตอนหนึ่งว่า<ref>[http://prachatai.com/journal/2011/04/33901 การพระราชทานสัมภาษณ์] ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในรายการ "วู้ดดี้ เกิดมาคุย"</ref>
บรรทัด 177:
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระอาการประชวรเรื้อรังในส่วนของพระหทัยเต้นผิดปกติ มีสาเหตุจากการได้รับเชื้อ[[ไมโคพลาสมา]] ราวปี พ.ศ. 2530 เสด็จไปเยี่ยมประชาชนที่[[อำเภอสะเมิง]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] คณะแพทย์ไม่อาจถวายการรักษาให้หายขาดได้ ทำได้เพียงถวายพระโอสถประคองพระอาการมาตลอด จนต้องทรงรับการผ่าตัดใหญ่มาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2538<ref>{{cite news| url=http://www.naewna.com/local/32685 | work=แนวหน้า | title=สาเหตุโรคพระหทัยของในหลวง : ในหลวงของฉัน | date=4 ธันวาคม พ.ศ. 2555 | accessdate=13 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref>
 
นับตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2552 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเริ่มประชวร อันเนื่องมาจาก[[ไข้หวัด|พระโรคไข้หวัด]]และ[[โรคปอดบวม|พระปัปผาสะอักเสบ]] พระองค์แปรพระราชฐานจากพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ไปโรงพยาบาลศิริราช เพื่อให้คณะแพทย์ถวายการรักษา<ref>Female First,[http://www.femalefirst.co.uk/royal_family/King+Bhumibol-53750.html King Bhumibol to remain in hospital], 12 August 2010</ref> ต่อมาจนถึงเดิอนสิงหาคม พ.ศ. 2556 พระองค์เสด็จพระราชดำเนินแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล [[อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] เพื่อเปลี่ยนพระอิริยาบถ<ref>{{cite news| url=http://www.naewna.com/royal/62520 | work=แนวหน้า | title= ปีติในหลวง-ราชินีเสด็จประทับวังไกลกังวล แพทย์เผยพระอาการปกติ | date=2 สิงหาคม พ.ศ. 2556 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref>
 
จนกระทั่งวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จฯมาประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราช โดยทรงมีพระอาการไข้<ref>{{cite news| url=http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9570000114076 | work=ASTVผู้จัดการออนไลน์ | title=“ในหลวง-ราชินี” เสด็จฯกลับเข้าประทับ รพ.ศิริราช อีกครั้ง | date=3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}{{dead link|date=August 2018}}</ref> คณะแพทย์ได้ถวายการรักษาจนพระอาการทั่วไปดีขึ้นตามลำดับ<ref>{{cite news| url=http://www.komchadluek.net/detail/20141009/193742.html | work=คมชัดลึก | title=แถลงการณ์ฉบับที่5พระอาการ‘ในหลวง’ | date=8 ตุลาคม พ.ศ. 2557 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref> ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินกลับไปประทับ ณ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล เพื่อเปลี่ยนพระอิริยาบถอีกครั้ง<ref>{{cite news| url=http://www.komchadluek.net/detail/20150509/206004.html | work=คมชัดลึก | title='ในหลวง'เสด็จฯกลับไกลกังวล | date=9 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref> แต่เสด็จฯไปประทับได้ไม่นาน ก็ทรงกลับมาประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราช<ref>{{cite news| url=http://www.dailynews.co.th/royalnews/325020 | work=เดลินิวส์ | title="ในหลวง"เสด็จ"รพ.ศิริราช" แพทย์ถวายตรวจพระอาการ | date=31 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref> ตลอดระยะเวลาที่ทรงประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราช จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2559 พระอาการประชวรได้ดีขึ้นและทรุดลงเป็นครั้งคราว<ref>{{cite news| url=http://www.posttoday.com/social/royal/460161 | work=เดลินิวส์ | title=ลำดับแถลงการณ์ประชวรในหลวง ร.9 | date=14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | accessdate=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559}}</ref> โดยพระราชกรณียกิจครั้งสุดท้ายของพระองค์คือการพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ผู้พิพากษาประจำศาลต่าง ๆ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2558<ref>{{cite news| url=http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450095487 | work=ประชาชาติ | title="ในหลวง"พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ผู้พิพากษา-อัยการเฝ้าฯถวายสัตย์ก่อนเข้ารับหน้าที่ | date=14 ธันวาคม พ.ศ. 2558 | accessdate=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559}}</ref> และการปรากฏพระองค์ครั้งสุดท้ายคือการเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรสภาพภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2559<ref>{{cite news| url=http://www.komchadluek.net/news/royal/220344 | work=คมชัดลึก | title='ในหลวง'เสด็จฯสวนจิตรลดา | date=11 มกราคม พ.ศ. 2559 | accessdate=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559}}</ref>
 
=== เสด็จสวรรคต ===
บรรทัด 185:
{{Wikisource|ประกาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สวรรคต}}
[[ไฟล์:King Bhumibol Adulyadej's golden urn.jpg|thumb|left|พระโกศประกอบพระอิสริยยศพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง]]
[[ไฟล์:Royal crematorium of Bhumibol Adulyadej - 2017-11-05.jpg|thumb|350px|พระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
 
ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระปรอทต่ำ หายพระทัยเร็ว มีพระเสมหะ [[ปอดอักเสบ|พระปับผาสะซ้ายอักเสบ]] มี[[ภาวะเลือดเป็นกรดเมตะบอลิก|พระโลหิตเป็นกรด]] และพบว่ามี[[น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด|น้ำคั่งในช่องเยื่อหุ้มพระปัปผาสะ]]เล็กน้อย<ref>{{cite news| url= http://www.matichon.co.th/news/305309 | work= มติชน | title= แถลงการณ์พระอาการ “ในหลวง” ฉบับที่ 36 | date= 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | accessdate= 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 }}</ref> คณะแพทย์จึงทำการรักษาด้วย[[ยาปฏิชีวนะ|พระโอสถปฏิชีวนะ]] และใช้[[สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง|สายสวนเข้าหลอดพระโลหิตดำ]]เพื่อ[[การชำระเลือดผ่านเยื่อ|ฟอกพระโลหิต]] แต่มี[[ความดันโลหิตต่ำ|พระความดันพระโลหิตต่ำ]]จึงใช้[[เครื่องช่วยหายใจ|เครื่องช่วยหายพระทัย]] พระอาการไม่คงที่<ref>{{cite news| url= https://www.khaosod.co.th/hot-topics/news_41448 | work= ข่าวสด | title= แถลงฉบับที่ 37-พระอาการ “ในหลวง” คณะแพทย์เฝ้าติดตามถวายการรักษาใกล้ชิด | date= 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | accessdate= 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 }}</ref> ก่อนที่พระอาการจะทรุดลงไปอีก มี[[ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ|การติดเชื้อในกระแสพระโลหิต]]<ref>{{cite news| url= http://www.thairath.co.th/content/751812 | work= ไทยรัฐ | title= แถลงการณ์ ฉ.38 ในหลวงพระโลหิตติดเชื้อ พระอาการไม่คงที่ ถวายรักษาใกล้ชิด | date= 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | accessdate= 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 }}</ref> จนเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พระอาการประชวรได้ทรุดหนักลงตามลำดับ และสวรรคตเมื่อเวลา 15.52 น. รวมพระชนมายุ 88 พรรษา ทรงครองราชสมบัติได้ 70 ปี 4 เดือน 4 วัน<ref>[http://www.udonthani.go.th/2014/pdf/901_13102559.pdf ประกาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร สวรรคต], สำนักพระราชวัง, เข้าถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559</ref><ref>[http://www.matichon.co.th/news/322373 วิษณุ ชี้ เริ่มรัชสมัยรัชกาลใหม่ตั้งแต่ 13 ต.ค. พระราชพิธีราชาภิเษกทำหลังการถวายพระเพลิง], มติชน, เข้าถึงวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559</ref>
 
วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 16.00 น. [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ครั้งยังเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พร้อมด้วย[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ได้เสด็จพระราชดำเนินไป[[โรงพยาบาลศิริราช]] เพื่อเคลื่อนพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไปยัง[[พระบรมมหาราชวัง]] มีพระราชพิธีถวายสรงน้ำพระบรมศพ ณ [[พระที่นั่งพิมานรัตยา]] มีการเชิญพระบรมศพลงสู่[[หีบศพ|พระหีบ]] ประดิษฐานหลังพระแท่นแว่นฟ้าทอง ประกอบ[[พระโกศทองใหญ่]] ภายใต้[[นพปฎลมหาเศวตฉัตร]] ณ [[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]] ภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]]
 
รัฐบาลประกาศให้สถานที่ราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐและสถานศึกษาทุกแห่ง ลดธงครึ่งเสา 30 วัน และให้ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่รัฐไว้ทุกข์ 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/234/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสวรรคต],ราชกิจจานุเบกษา, เข้าถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559</ref> คณะรัฐมนตรีมีมติกำหนดให้วันที่ 13 ตุลาคมของทุกปีเป็นวันหยุดราชการ เพื่อให้ประชาชนน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ<ref>[http://soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=148508&pdate=2017/04/12&pno=1&pagegroup=3 การพิจารณากำหนดวันหยุดราชการประจำปีเพิ่ม (นร ๐๕๐๗/ว ๑๗๘)]</ref> มี[[พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ]] ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-39703463 ครม.เห็นชอบวันถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวง ร. 9] บีบีซีไทย, เข้าถึงวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560</ref>
บรรทัด 231:
ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกพระองค์ว่า "ในหลวง" ซึ่งคาดว่าย่อมาจาก "ใน ([[พระบรมมหาราชวัง]]) หลวง" หรืออาจออกเสียงเพี้ยนมาจากคำว่า "นายหลวง" ซึ่งแปลว่า "เจ้านายผู้เป็นใหญ่"
 
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นพุทธมามกะ ทรงออกผนวช ทรงโปรดให้มีการ[[สังคายนาในศาสนาพุทธ|สังคายนาพระไตรปิฎก]] ทรงสร้าง[[พระสมเด็จจิตรลดา]]ด้วยพระองค์เอง<ref>ประมุข ไชยวรรณ, พระพิมพ์จิตรลดา พระพิมพ์ฝีพระหัตถ์ขององค์พระประมุขของชาติ พิมพ์ครั้งที่ 1, 2541, 319 หน้า, หน้า 8</ref> และนอกจากนี้ยังเป็น[[อัครศาสนูปถัมภก]] ทรงเกื้อกูล ค้ำจุนทุกศาสนาอย่างเสมอภาค<ref>{{cite web|title=พระราชสถานะ|url=http://power.manager.co.th/25-37.html|publisher=ประมวล รุจนเสรี|date=ม.ป.ป.|accessdate=4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555}}</ref> ทรงสนับสนุนพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อใช้แปลพระคัมภีร์[[อัลกุรอาน]]เป็นภาษาไทยเมื่อ พ.ศ. 2505
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงจัดตั้งโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกว่า 4,741 โครงการ<ref>{{cite web|url=http://www.rdpb.go.th/Projects |title=โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ|accessdate=6 สิงหาคม พ.ศ. 2561}}</ref> นอกจากนี้ยังเสด็จเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดาร โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่สำคัญที่สุดจนทำให้พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทย คือ ปรัชญา[[เศรษฐกิจพอเพียง]]<ref name="autogenerated2006"/> ซึ่งพระองค์ได้ปฏิบัติพระองค์เองเป็นแบบอย่าง โปรดให้มีการการปลูกข้าว การเลี้ยงโคนม การเพาะพันธุ์ปลานิลขึ้นในสวนจิตรลดา ทรงเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการประหยัด ตัวอย่างเช่น ทรงใช้ดินสอเดือนละ 1 แท่ง หรือการใช้ยาสีพระทนต์จดหมดหลอด นอกจากนั้นยังไม่ทรงโปรดสวมเครื่องประดับใด ๆ เลย ยกเว้นแต่นาฬิกาข้อมือ<ref>{{cite news| url=http://www.chaoprayanews.com/2013/04/12/“ในหลวง”-แสดงให้เห็นถึง/ | work=เจ้าพระยา | title=“ในหลวง” แสดงให้เห็นถึงความประหยัด | date=12 เมษายน พ.ศ. 2556 | accessdate=20 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref>
บรรทัด 242:
=== กีฬา ===
{{บทความหลัก2|การเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช}}
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดกีฬาเรือใบเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเป็นตัวแทนของประเทศไทยแข่งเรือใบใน[[กีฬาแหลมทอง]]ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ที่[[ประเทศไทย]]เป็นเจ้าภาพ โดยทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อม และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา ซึ่งพระองค์ทรงชนะเลิศเหรียญทอง และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเหรียญทองจาก[[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2510<ref>{{cite web |last=Cummins |first=Peter |month=December |year=2004 |url=http://www.chiangmai-mail.com/111/special.shtml |title=His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great: Monarch of Peace and Unity |publisher=Chiang Mai Mail |accessdate=20 July 2006}}</ref> นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงออกแบบและประดิษฐ์เรือใบยามว่างหลายรุ่น พระองค์พระราชทานนามเรือใบประเภทม็อธ (Moth) ที่ทรงสร้างขึ้นว่า [[เรือใบมด]] [[เรือใบซูเปอร์มด]] และ[[เรือใบไมโครมด]] ถึงแม้ว่าเรือใบลำสุดท้ายที่พระองค์ทรงต่อคือ เรือโม้ค (Moke) เมื่อ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เรือใบซูเปอร์มดยังถูกใช้แข่งขันในระดับนานาชาติที่จัดในประเทศไทยหลายครั้ง ครั้งสุดท้าย คือ เมื่อปี พ.ศ. 2528 ใน[[ซีเกมส์ 1985|กีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 13]]<ref>,กองทัพเรือไทย, [http://www3.navy.mi.th/index.php/royal/detail/content_id/53 ข้อมูลเทิดพระเกียรติ โดยกองทัพเรือ]</ref>
 
=== ดนตรี ===