ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามอะเมซิ่งพาร์ค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Magnamonkun ย้ายหน้า สวนสยาม ไปยัง สยาม อเมซิ่ง ปาร์ค: โครงการเปลี่ยนชื่อ
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Original siam3.jpg|right|thumb|350px|สไลเดอร์ขนาดใหญ่ของสวนสยาม]]
 
'''สวนสยามทะเลกรุงเทพ อเมซิ่ง ปาร์ค''' ({{lang-en|Siam Amazing Park}}, ชื่อเดิม: สวนสยาม) เป็น[[สวนสนุก]]และ[[สระว่ายน้ำ|สวนน้ำ]] ตั้งอยู่ที่[[ถนนสวนสยาม]] แขวงคันนายาว [[เขตคันนายาว]] บนเนื้อที่ 300 ไร่ ได้มีจุดเด่นที่ภายในโครงการมีทะเลเทียมขนาดใหญ่ อันเป็นที่มาของฉายาว่า "ทะเลกรุงเทพ" และคำขวัญคือโดยทะเลเทียมแห่งนี้เป็นทะเลเทียมที่ใหญ่ที่สุดในโลกโดยการรับรองของ "สวนสยาม...[[บันทึกสถิติโลกกินเนสส์|Guinness World Records]]แห่งความสุข สนุกไม่รู้ลืม"
 
สยาม อเมซิ่ง ปาร์ค ในชื่อเดิมคือสวนสยามเปิดดำเนินการมาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนปี [[พ.ศ. 2523]] ดำเนินงานโดย บริษัท อมรพันธ์นคร-สวนสยาม จำกัด โดย นาย[[ไชยวัฒน์ เหลืองอมรเลิศ]] เป็น ประธานกรรมการ แรกเริ่มมีเพียง[[สวนน้ำ]]ภายหลังจึงได้ซื้อเครื่องเล่นเดิมจากสวนสนุก[[แฮปปี้แลนด์]]ที่ได้ปิดกิจการมาให้เปิดบริการ สวนสยามจึงเป็นทั้งสวนน้ำและ[[สวนสนุก]]ที่ใหญ่ที่สุดของ[[ประเทศไทย]] และมีทะเลเทียมที่ใหญ่ที่สุดในโลก<ref>http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9520000048648</ref> นอกจากนี้ยังมีรางน้ำวน สปา พร้อมเครื่องเล่นทางน้ำครบครัน [[สไลเดอร์]]ที่สูงเท่ากับตึก 7 ชั้น ซูเปอร์สไปรัลรางน้ำคดเคี้ยว พิพิธภัณฑ์ไดโนโนเปีย [[พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งจีน]] [[อุทยานพฤษชาติ]] [[สวนสัตว์]] และ[[สวนสาระ]]
 
== ภายในสวนสยาม อเมซิ่ง ปาร์ค ==
ประกอบด้วย 5 ส่วนคือ
 
# '''[[สระว่ายน้ำ|สวนน้ำ]] Water World''' ประกอบด้วย ทะเลน้ำจืด สไลเดอร์ยักษ์ ซูเปอร์สไปรัล ธารน้ำวน สปา ธารน้ำไหล
# [[สวนสนุก]] มี 34 ส่วนคือ เครื่องเล่นใหม่'''Extreme สมอลเวิลด์World, แฟนตาซีเวิลด์Small World, Adventure World, และ Family World''' ซึ่งมีเครื่องเล่นกว่า 30 ชนิด อาทิ Vortex, Boomerang, Giant Drop, Aladin,Condor และอื่น ๆ อีกมากมายCondor
# สวนสาระ เช่น พิพิธภัณฑ์ไดโนโทเปีย บิ๊กดับเบิ้ลช็อกค์ ผจญภัยแดนไดโนเสาร์ สวนสัตว์ มินิเอ็กเพลส ท่องแดนซาฟารี
# [[งานเลี้ยง|สัมมนาจัดเลี้ยง]] ไม่ว่าจะเป็นการประชุมหรือกิจกรรมต่าง ๆ สวนสยามเราก็มีการรับรองไว้อย่างเต็มรูปแบบ
# [[ค่ายพักแรม]] สำหรับกิจกรรมการเข้าค่ายลูกเสือ มีฐานต่าง ๆ ห้องพักแบบเชลเตอร์และเรือนนอน 48 หลัง มีพัดลมปรับอากาศ ห้องน้ำในตัว
# '''สถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บางกอก เวิลด์''' เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยการนำสถาปัตยกรรมของกรุงรัตนโกสินทร์มาปรับใช้ เช่น ศาลาเฉลิมไทย ศาลาเฉลิมกรุง ห้างแบดแมนแอนด์โก ห้างบี.กริมแอนด์โก เยาวราชไชน่าทาวน์
 
== เหตุการณ์สำคัญ ==
เส้น 23 ⟶ 24:
 
[[พ.ศ. 2553]] วันที่ 19 พฤศจิกายน - 19 ธันวาคม 2553 สยามพาร์คซิตี้ สวนสยาม ได้ จัดงานฉลองครบรอบเปิดกิจการ 30 ปี จัดโปรโมชั่นพิเศษ ซื้อบัตร ครั้งเดียวเที่ยวฟรีตลอดวัน ผู้ใหญ่ 300 บาท เด็ก 100 บาท <ref>http://www.thairath.co.th/content/ent/131219</ref>นับว่าเป็นสวนสนุกและสวนน้ำที่มีอายุมากที่สุดในประเทศไทยที่เปิดดำเนินการอยู่จนถึงปัจจุบัน
 
พ.ศ. 2562 สวนสยามประกาศปิดปรับปรุงใหญ่บางส่วน พร้อมกับเปลี่ยนชื่อโครงการเป็น '''สยาม อเมซิ่ง ปาร์ค''' ภายใต้การบริหารของทายาทรุ่นที่สองคือ สิทธิศักดิ์ เหลืองอมรเลิศ, วุฒิชัย เหลืองอมรเลิศ และจิรวรรณ ดิศกุล ณ อยุธยา โดยมีการปรับภาพลักษณ์ให้ดูทันสมัยและสดใสมากขึ้น มีการปรับปรุงเครื่องเล่นให้ใช้งานได้ตามปกติ ปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรวมของโครงการ และก่อสร้างส่วนขยายบริเวณด้านหน้าโครงการ ภายใต้การควบคุมและดูแลของ Spikeband บริษัทที่ปรึกษาชั้นนำของโลกที่เป็นผู้พัฒนาสวนสนุกโตเกียว ดิสนีย์แลนด์ ที่ประเทศญี่ปุ่น<ref>[https://brandinside.asia/siam-park-city-rebrand-siam-amazing-park/ ปิดตำนาน 39 ปี “สวนสยาม” เปลี่ยนชื่อ “Siam Amazing Park” ทรานส์ฟอร์มสู่ยุค Gen 2]</ref> และยังเป็นการปรับปรุงเพื่อรองรับการเปิดให้บริการของ[[รถไฟฟ้าสายสีชมพู]] และ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม|รถไฟฟ้าสายสีส้ม]] โดยการปรับปรุงจะแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2564 พร้อม ๆ กับการเปิดให้บริการของรถไฟฟ้าสายสีชมพู<ref>[https://www.trjournalnews.com/3040 ‘สวนสยาม’ รับรถไฟฟ้า 2 สาย อัดงบ 3 พันล้าน ปั้น!! ‘บางกอกเวิลด์’]</ref>
 
== อ้างอิง ==