ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองพันทหารม้าที่ 29 รักษาพระองค์"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pastman (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
 
วันที่ 19 ธันวาคม 2549 เป็นวันคล้ายวันสถาปนา ม.พัน.29 รอ. ครบรอบปีที่ 19
1.'''กองพันทหารม้าที่ 29 รักษาพระองค์''' หรือ '''ม.พัน.29 รอ.''' ก่อนสถาปนาเมื่อ วันที่จะมาเป็นหน่วยกองพันนั้น 19 ธันวาคม พ.ศ. 2530 เดิมเป็นกองร้อย[[ทหารม้า]]ใช้[[ม้า]] ซึ่งได้พัฒนาและเปลี่ยนแปลงจากในอดีต มาตามลำดับดังนี้
 
พ.ศ.2417 – ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า จัดตั้งกองทหารม้าขึ้นในกรมมหาดเล็กโดยมีพระบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้ากาพย์กนกรัตน์ทรงเป็นผู้บังคับกอง
 
== ประวัติ ==
 
พ.ศ.2417 – ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า จัดตั้งกองทหารม้าขึ้นในกรมมหาดเล็กโดยมีพระบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้ากาพย์กนกรัตน์ทรงเป็นผู้บังคับกอง
พ.ศ.2420 – โปรดเกล้าฯ ตั้งกองพันทหารม้าตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง
พ.ศ.2430 – ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลิกกองทหารม้า โดยให้ไปรวมกับกองพัน เป็น กรมทหารม้าหลวง
เส้น 17 ⟶ 21:
พ.ศ.2531 – เพื่อให้กองทัพบกมีหน่วยทหารม้า (ใช้ม้า) และมีขนาดเหมาะสม จึงได้อนุมัติจัดตั้งกองพันทหารม้าที่ 29 ขึ้น โดยขยายหน่วยจาก ร้อย.ม.รอ.ที่มีอยู่เดิม และมอบ
อำนาจการบังคับบัญชาไว้กับ กองพลทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์
 
2. การจัดตั้งหน่วย : ตามคำสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ที่ 257/31 ลง 19 ธ.ค.31 (พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ) ผบ.ทบ.ลงนาม
 
3. ภารกิจ : จัดขบวนม้าเข้าร่วมในพระราชพิธี และรัฐพิธีที่สำคัญ แห่นำตามเสด็จ และถวายการอารักขา
: ปราบปรามจลาจล และการรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน
 
4. การจัดหน่วยประกอบด้วย : บก. และ ร้อย.บก.ม.พัน.29 รอ. อจย. 17 – 56 ก (10 มิ.ย.28)
4. การจัดหน่วยประกอบด้วย
: 2 ร้อย.ทหารม้ารักษาพระองค์ อจย. 2 – 17 (5 มี.ค.23)
4. การจัดหน่วยประกอบด้วย :* บก. และ ร้อย.บก.ม.พัน.29 รอ. อจย. 17 – 56 ก (10 มิ.ย.28)
: 2* ร้อย.ทหารม้ารักษาพระองค์ อจย. 2 – 17 (5 มี.ค.23)
 
5. เหตุผลและข้อพิจารณาในการจัดตั้งหน่วย : ทบ.ได้พิจารณาภารกิจของ ร้อย.ม.รอ. (เดิม) เป็นหน่วยกำลังรบภารกิจทางด้านยุทธการ แต่ ทบ. ไม่เคยใช้ในภารกิจด้านยุทธการ
แต่ใช้ในลักษณะเป็นหน่วยเกียรติยศ เช่นการแห่นำ – ตามเสด็จ การจัดขบวนม้าเข้าร่วมในรัฐพิธี และพระราชพิธีที่สำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเข้าร่วมสวนสนามของ
เส้น 29 ⟶ 38:
และ ร้อย.บก.ขึ้นตาม อจย.หมายเลข 17 – 56 ก.(10 มิ.ย.28) กับจัดตั้ง ร้อย.ม.รอ.ที่ 2 ขึ้น ตาม อจย.หมายเลข 2 – 17 (5 มี.ค.23) บรรจุมอบ ร้อย.ม.รอ. (หน่วยที่มีอยู่เดิม)
ให้เป็นหน่วยขึ้นการบังคับบัญชาต่อ พัน.ม. ที่จัดตั้งขึ้นนั้น ดำเนินการร่างอัตราการจัดหน่วย พัน.ม.รอ. (อฉก.) ที่เหมาะสม รายงานขออนุมัติ กห. เพื่อประกาศใช้ต่อไป
 
6. การปฏิบัติงานที่สำคัญ
 
1. จัดขบวนม้าแห่นำตามเสด็จในพระราชพิธี, รัฐพิธีต่าง ๆ
2. จัดขบวนม้าเข้าร่วมในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของหน่วยทหารรักษาพระองค์ฯ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3. จัดขบวนม้ากองเกียรติยศในพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติและพระบารมีให้แผ่ไพศาลยิ่งขึ้น
4. จัดขบวนม้ากองเกียรติยศถวายการต้อนรับพระประมุขหรือประมุขของรัฐบาลต่างประเทศที่เสด็จหรือเดินทางมาเยือนไทย ในฐานะพระราชอาคันตุกะหรือราชอาคันตุกะ
ไพศาลยิ่งขึ้น
4. จัดขบวนม้ากองเกียรติยศถวายการต้อนรับพระประมุขหรือประมุขของรัฐบาลต่างประเทศที่เสด็จหรือเดินทางมาเยือนไทย ในฐานะพระราชอาคันตุกะหรือราชอาคันตุกะ 5. จัดกำลังถวายอารักขาและความปลอดภัยแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์
6. ถวายการทรงม้าแด่พระบรมวงศานุวงศ์
7. จัดกำลังเพื่อปฏิบัติการรบอย่างทหารม้า เมื่อจำเป็นในห้วงเวลาจำกัด
เส้น 45 ⟶ 56:
8. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ร.ต.หญิง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เป็นนายทหารพิเศษประจำ ม.พัน.29 รอ.
ตั้งแต่ 16 พ.ย.45
 
9.== รายนามผู้บังคับกองพัน ==
1. พ.ท.อรรคเดช ทรงวรวิทย์ พ.ศ.๒๕๓๑ – ๒๕๓๓
1. พ.ท.อรรคเดช ทรงวรวิทย์ พ.ศ.๒๕๓๑ – ๒๕๓๓
 
2. พ.ท.วรวิทย์ ปทุมลังการ์ พ.ศ.๒๕๓๓ – ๒๕๓๙
 
3. พ.ท.วรพล เยี่ยมแสงทอง พ.ศ.๒๕๓๙ – ๒๕๔๐
 
4. พ.ท.สัมพันธ์ เงาศรี พ.ศ.๒๕๔๐ – ๒๕๔๓
 
5. พ.ท.เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา พ.ศ.๒๕๔๓ – ๒๕๔๔
 
6. พ.ท.ศักดา เนียมคำ พ.ศ.๒๕๔๔ – ๒๕๔๘
 
7. พ.ท.อรุณ เศรษฐ์รัศมี พ.ศ.๒๕๔๘ - ปัจจุบัน
 
[[หมวดหมู่:กองทัพบกไทย]]
14,527

การแก้ไข