ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอห์น ฟอน นอยมันน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
 
== พื้นฐานครอบครัวและชีวิตช่วงแรก ==
จอห์น ฟอน นอยมันน์ เกิดวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1903 ที่เมือง[[บูดาเปสต์]] [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] ซึ่งในขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] เขามีชื่อตอนเกิดใน[[ภาษาฮังการี]]ว่า นอยมันน์ ยาโนช ลาโยช ({{lang|hu|Neumann János Lajos}}; ตามธรรมเนียมฮังการีจะเรียงนามสกุลขึ้นก่อน) ครอบครัวของฟอน นอยมันน์เป็น[[ชาวยิว]]ที่ไม่เคร่งครัดศาสนาและมีฐานะทางเศรษฐกิจดี{{r|Israel Millan|page1=1}} บิดาของเขาชื่อ นอยมันน์ มิคชา ({{lang|hu|Neumann Miksa}}) จบการศึกษาด้านกฎหมายและทำงานเป็นนายธนาคาร มารดาของเขาชื่อคันน์ มาร์กิทมาร์กิต ({{lang|hu|Kann Margit}}) มาจากครอบครัวที่ทำธุรกิจค้าขายอุปกรณ์การเกษตร เขามีน้องชายสองคนชื่อ มีฮาย ({{lang|hu|Mihály}}) และมีโคลช ({{lang|hu|Miklós}}){{r|Israel Millan|page1=2}} ในปี 1913 บิดาของจอห์นได้รับฐานันดรศักดิ์จาก[[จักรพรรดิฟรันทซ์ โยเซ็ฟที่ 1 แห่งออสเตรีย|จักรพรรดิฟรันทซ์ โยเซ็ฟ]] ทำให้ครอบครัวสามารถใช้ชื่อยศเพิ่มว่า มาร์กิททายมาร์กิตไต ({{lang|hu|Margittai}} แปลว่า "แห่งเมืองมาร์กิททามาร์กิตตา") และเป็นที่มาของการเติมยศ "ฟอน" ในชื่อฉบับภาษาเยอรมันของครอบครัว{{r|Israel Millan|page1=2}}
 
ฟอน นอยมันน์ได้รับการศึกษาจากครูส่วนตัวจนถึงอายุสิบปี หลังจากนั้นเขาได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนมัธยมนิกายลูเทอรันซึ่งเป็นโรงเรียนชั้นนำในบูดาเปสต์ ฟอน นอยมันน์แสดงความอัจฉริยะตั้งแต่วัยเด็ก โดยได้ศึกษาคณิตศาสตร์แคลคูลัสตั้งแต่อายุแปดปี{{r|Halmos}} ลาสโล ราทซ์ราตซ์ อาจารย์คณิตศาสตร์ที่โรงเรียนมัธยม ได้สังเกตความสามารถทางคณิตศาสตร์ของฟอน นอยมันน์ในช่วงสองสามเดือนแรกที่เขาเข้าเรียน และแนะนำให้ครอบครัวจ้างครูส่วนตัวมาสอนคณิตศาสตร์ขั้นสูงให้กับเขา{{r|Israel Millan|page1=3}}
 
เมื่อฟอน นอยมันน์อายุได้ 17 ปี พ่อของเขาไม่ต้องการให้เขาศึกษาต่อด้านคณิตศาสตร์ด้วยความกังวลทางด้านการเงิน ทำให้ฟอน นอยมันน์เลือกศึกษา[[วิชายมันน์เลือกศึกษาด้านเคมี]]ไปพร้อมกับคณิตศาสตร์ เขาได้ลงทะเบียนเป็นนักศึกษาปริญญาเอกด้านคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยบูดาเปสต์ และเข้าเรียนวิชาต่างๆ ที่[[มหาวิทยาลัยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน|มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน]]ในช่วงปี 1921 ถึง 1923 ก่อนที่จะย้ายไปศึกษาวิศวกรรมเคมีที่[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก]] ในปี 1926 ฟอน นอยมันน์ในวัย 23 ปีได้รับปริญญาบัตรด้านวิศวกรรมเคมีจาก[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก]] และยังได้รับปริญญาเอกสาขาคณิตศาสตร์จากมหาวิทยาลัยบูดาเปสต์ในปีเดียวกัน{{r|Halmos}}
 
ฟอน นอยมันน์ได้ตีพิมพ์บทความคณิตศาสตร์ฉบับแรกในปี 1922 ตั้งแต่อายุยังไม่เต็ม 18 ปี โดยเขียนร่วมกับมีฮาย เฟเกเต ที่เป็นผู้สอนคณิตศาสตร์ของฟอน นอยมันน์คนหนึ่ง มีเนื้อหาเกี่ยวกับรากของ[[พหุนามแบบเชบืยชอฟ]]{{r|Israel Millan|page1=7}} ในปี 1923 ฟอน นอยมันน์ตีพิมพ์บทความที่สองของเขา โดยเสนอนิยามของ[[จำนวนเชิงอันดับที่]]ซึ่งมาทดแทนนิยามเดิมของ[[เกออร์ค คันทอร์]]และเป็นรากฐานสำคัญของนิยามจำนวนเชิงอันดับที่ในเชิง[[ทฤษฎีเซต]]{{r|Ulam}}
 
== ผลงาน ==
เส้น 35 ⟶ 37:
<ref name="Israel Millan">{{cite book |last1=Israel |first1=Giorgio |last2=Millán Gasca |first2=Ana |date=2009 |title=The world as a mathematical game: John von Neumann and twentieth century science |location=Basel |publisher=Birkhäuser |isbn=978-3-7643-9895-8 |doi=10.1007/978-3-7643-9896-5}}</ref>
<ref name="Halmos">{{cite journal |last1=Halmos |first1=Paul R. |date=1973 |title=The legend of John Von Neumann |journal=American Mathematical Monthly |volume=80 |issue=4 |pages=382-394 |doi=10.2307/2319080}}</ref>
<ref name="Ulam">{{cite journal |last1=Ulam |first1=Stanislaw |date=1958 |title=John von Neumann 1903-1957 |journal=Bulletin of the American Mathematical Society |volume=64 |issue=3 |pages=1-49 |doi=10.1090/S0002-9904-1958-10189-5}}</ref>
}}