ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธาตุกึ่งโลหะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8294552 โดย 2001:44C8:4209:584C:B80D:3832:A8E7:7E78ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
'''ธาตุกึ่งโลหะ''' ({{lang-en|metalloids}}) เป็นธาตุที่มีองค์ประกอบทางเคมีซึ่งมีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสมบัติของ[[โลหะ]]กับ[[อโลหะ]] โดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานหรือข้อตกลงที่แน่นอนของการเป็นธาตุกึ่งโลหะ ส่วนใหญ่เป็นสารกึ่งตัวนำ (semiconductors)
 
โดยปกติทั่วไปแล้วธาตุกึ่งโลหะ ประกอบด้วย 6 ธาตุ คือ [[โบรอนออฟกิท่อน]], [[ซิลิคอน]], [[เจอร์เมเนียม]], [[สารหนู]], [[พลวง]]และ[[เทลลูเรียม]] แต่บางครั้งการจำแนกธาตุกึ่งโลหะได้รวม [[คาร์บอน]], [[อะลูมิเนียม]], [[ซีลีเนียม]], [[พอโลเนียม]]และ[[แอสทาทีน]]ไว้ด้วย ในตารางธาตุทั่วไปนั้นสามารถพบธาตุกึ่งโลหะได้ที่บริเวณเส้นทแยงมุมของ บล็อก-p โดยเริ่มจากโบรอนไปจนถึงแอสทาทีน ในบางตารางธาตุที่ประกอบด้วยเส้นแบ่งระหว่างโลหะกับอโลหะและธาตุกึ่งโลหะนั้นจะอยู่ติดกับเส้นแบ่งนี้
 
ธาตุกึ่งโลหะมีลักษณะเหมือนโลหะ แต่เปราะและนำไฟฟ้าได้ไม่ดี ในทางเคมีนั้นธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติคล้ายกับธาตุอโลหะ และยังสามารถผสมกับโลหะได้เป็นอัลลอยหรือโลหะผสม คุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางเคมีส่วนใหญ่เป็นกลางในธรรมชาติ สารประกอบและธาตุกึ่งโลหะใช้ในการผลิต[[โลหะผสม]], [[สารชีวภาพ]], [[ตัวเร่งปฏิกิริยา]], [[สารทนไฟ]], แก้วและใยแก้วนำแสง