ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเขมราฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชวลิต ประกอบสุข (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 42:
ปี พ.ศ. 2408 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท้าวบุญสิงห์ บุตรพระเทพวงศา (บุญจันทร์) เป็นที่พระเทพวงศา (บุญสิงห์) เจ้าเมืองเขมราษฎร์ธานี คนที่ 4 (พ.ศ. 2408-2428) และถือต้นสานสกุลอมรสิน และอมรสิงห์) มีบุตร 2 คน คือ ท้าวจันทบรม (เสือ) และท้าวขัตติยะ (พ่วย)
 
ปี พ.ศ. 2388 เมื่อโปรดเกล้าให้ตั้งบ้านคำเมืองแก้วขึ้นเป็นเมืองคำเขื่อนแก้ว และปี พ.ศ. 2401 ยกบ้านค้อใหญ่ขึ้นเป็นเมืองอำนาจเจริญ ให้ท้าวจันทบรม (เสือ) บุตรพระเทพวงศา (บุญสิงห์) เป็นที่พระอมรอำนาจ เจ้าเมืองอำนาจเจริญคนแรก โดยให้เมืองทั้งสองขึ้นตรงต่อเมืองเขมราฐ
 
ปี พ.ศ. 2428 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท้าวขัตติยะ (พ่วย) บุตรพระเทพวงศา (บุญสิงห์) เป็นที่พระเทพวงศา (พ่วย) เจ้าเมืองเขมราษฎร์ธานี ลำดับที่ 5 (พ.ศ. 2428-2435)
 
ปี พ.ศ. 2440-2442 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ ท้าวโพธิสาร (เหลือคำบุ) เป็นที่พระเขมรัฐเดชนาชนารักษ์) ผุ้ผู้ตำแหน่งผู้ว่าราชการเมืองเขมราฐ ให้ท้าวโพธิราช (หล้า) เป็นที่พระเขมรัฐศักดิ์ชนชนาบาล ตำแหน่งปลัดเมือง ให้ท้าวโพธิสารราช (ห้อ) เป็นที่พระเขมรัฐกิจบริหาร ตำแหน่งยกกระบัตรเมือง และหลวงจำนงค์ (แสง) เป็นที่หลวงเขมรัฐการอุตส่าห์ ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าราชการเมือง
 
ปี พ.ศ. 2445 ทางราชการได้ปรับลดฐานะเมืองโขงเจียม เมืองคำเขื่อนแก้ว เมืองอำนาจเจริญ และเมืองวารินทร์ชำราบ ที่เคยขึ้นตรงต่อเมืองเขมราฐ ให้เป็นอำเภอแต่คงให้ขึ้นตรงต่อเมืองเขมราฐเช่นเดิม ส่วนเมืองเขมราฐให้แบ่งออกเป็น 2 อำเภอคือ อำเภออุไทยเขมราฐ และอำเภอปจิมเขมราฐ มี * พระเขมรัฐเดชชนารักษ์ (คำบุ) เป็นผู้ว่าราชการเมืองเขมราฐ
ปี พ.ศ. 2445 เมืองเขมราฐมี พระเขมรัฐเดชนารักษ์ (คำบุ) เป็นผู้ว่าราชการเมืองเขมราฐ และมีอำนาจอยู่ในปกครอง 6 อำเภอ คือ [[อำเภออุไทยเขมราฐ]] [[อำเภอปจิมเขมราฐ]] [[อำเภออำนาจเจริญ]] อำเภอคำเขื่อนแก้ว [[อำเภอโขงเจียม]] และ[[อำเภอวารินชำราบ|อำเภอวารินทร์ชำราบ]] อันแสดงให้เห็นว่าเมืองเขมราฐยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญมาก
* พระเขมรัฐศักดิ์ชนาบาล (หล้า) เป็นปลัดเมือง
* พระเขมรัฐกิจบริหาร (ห้อ) เป็นยกระบัตรเมือง
* ท้าวสิทธิกุมาร รักษาการแทนนายอำเภออุไทยเขมราฐ
* ท้าวมหามนตรี รักษาการแทนนายอำเภอปจิมเขมราฐ
* หลวงธรรโมภาสพัฒนเดช (ทอง) รักษาการแทนนายอำเภออำนาจเจริญ
* ท้าวจารจำปา รักษาการแทนนายอำเภอคำเขื่อนแก้ว
* ท้าวสน รักษาการแทนนายอำเภอโขงเจียม
* ราชวงศ์ (บุญ) รักษาการแทนนายอำเภอวารินทร์ชำราบ
อันมีอำนาจปกครอง 6 อำเภอ แสดงให้เห็นว่าเมืองเขมราฐยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญมาก
 
ครั้นในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่ ปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาคครั้งใหญ่ เพื่อให้บังเกิดผลตามที่กำหนดใน “พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ ร.ศ. 116” มณฑลอีสานถูกแบ่งออกเป็น 8 บริเวณ สำหรับเมืองอุบลราชธานี มีอยู่ 3 เมือง คือ เมืองอุบลราชธานี เมืองยโสธร และเมืองเขมราฐ
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2452]] เมืองทางราชการได้ยุบอำเภอปจิมเขมราฐ และอำเภอคำเขื่อนแก้ว โดยให้ไปรวมกับอำเภออุไทยเขมราฐ และในปลายปี พ.ศ. 2452 ทางราชการได้ถูกลดฐานะเมืองเขมราฐลงเป็นอำเภอเขมราฐ ส่วนอำเภอที่เคยขึ้นตรงต่อก็ให้โอนไปอยู่ในเขตการปกครองของ[[จังหวัดยโสธร|เมืองยโสธร]] จังหวัดอุบลราชธานี
 
ปี พ.ศ. [[พ.ศ. 2455]] อำเภอเขมราฐจึงถูกโอนย้ายมาขึ้นกับจังหวัดอุบลราชธานีจนถึงกระทั่งปัจจุบัน โดยมีพระเกษมสำราญรัฐ เป็นนายอำเภอคนแรก<ref>ประวัติศาสตร์อีสาน,เติม วิภาคย์พจนกิจ ,ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2,2530,น.118</ref>