ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรับรู้ร้อนเย็น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกีอังกฤษ
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 10:
หรือที่การทำงานของซีเลีย<ref>{{Cite journal | doi = 10.1016/j.nbd.2009.12.022 | title = The role of primary cilia in neuronal function | year = 2010 }}<!-- Lee JH, Gleeson JG (May 2010). "The role of primary cilia in neuronal function". Neurobiol. Dis. 38 (2) : 167-72. PMC 2953617 Freely accessible. PMID 20097287. doi:10.1016/j.nbd.2009.12.022. --></ref>
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
สัมพันธ์กับสมรรถภาพการรู้ร้อนเย็นที่ลดลง ดังนั้น [[ซีเลีย]]จึงอาจมีส่วนในการรับรู้<ref>{{cite web | url = http://www.hopkinsmedicine.org/news/media/releases/can_you_feel_the_heat_your_cilia_can | accessdate = 2011-09-03 | date = 2007-10-22 | title = Can You Feel The Heat? Your Cilia Can | archiveurl = https://web.archive.org/web/20180624204300/https://www.hopkinsmedicine.org/news/media/releases/can_you_feel_the_heat_your_cilia_can | archivedate = 2018-06-24 | deadurl = no }}</ref>
[[ช่องไอออน]]คือ Transient receptor potential channel (TRP channel) เชื่อว่ามีบทบาทในการรับรู้ร้อน รู้เย็น และความรู้ความเจ็บปวดในสิ่งมีชีวิตหลาย[[สปีชีส์]]
[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]มีตัวรับรู้อย่างน้อยสองอย่างคือ รู้ร้อนและรู้เย็น<ref name=Johnson2008-p332-335>{{cite book | ref = harv | last = Johnson | first = JI | year = 2008 | title = 6.16 Specialized Somatosensory Systems | editor1-last = Kaas | editor1-first = JH | editor2-last = Gardner | editor2-first = EP | work = The Senses: A Comprehensive Reference | volume = 6: Somatosensation | publisher = Elsevier | at = 6.16.2 Thermal Sensory Systems, pp. 332-335 }}</ref>
 
รูปแบบพิเศษของการรู้เย็นร้อนมีอยู่ในงู[[วงศ์ย่อยงูหางกระดิ่ง]] (Crotalinae) และงู[[วงศ์งูโบอา]] (Boidae) ซึ่งเท่ากับเห็นการแผ่รังสี[[อินฟราเรด]]ของวัตถุที่ร้อน/[[สัตว์]]ที่ร้อน<ref>{{cite journal | authors = Newman, EA; Hartline, PH | year = 1982 | title = The Infrared ‘vision’ of snakes | journal = Scientific American | volume = 20 | pages = 116-127 }} </ref>
คืองูมีอวัยวะเป็นรู 2 รู (pits) เหนือปากที่บุด้วยตัวรับอุณหภูมิ
ตัวรับจะตรวจจับความร้อนที่เกิดตรงผิวหนังภายในอวัยวะเนื่องกับการแผ่รังสีอินฟราเรด จึงเป็นการตรวจจับการแผ่รังสีโดยอ้อม
งูจะรู้ว่าส่วนไหนของอวัยวะร้อนที่สุด ดังนั้น จึงรู้ทิศทางของแหล่งต้นความร้อน ซึ่งอาจเป็นเหยื่อที่มี[[สัตว์เลือดอุ่น|เลือดอุ่น]]
เมื่อรวมข้อมูลจากรูทั้งสอง งูก็จะสามารถประมาณระยะของวัตถุได้
 
บรรทัด 25:
เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ชนิดเดียวที่กิน[[เลือด]]เพียงอย่างเดียว
ดังนั้น ตัวรู้อินฟราเรดจึงช่วยให้ค้างคาวระบุตำแหน่งของสัตว์เลือดอุ่น เช่น วัวควาย ม้า และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เป็นสัตว์ป่า ภายในระยะ {{nowrap |10-15 [[ซม.]]}} ได้
ซึ่งน่าจะช่วยระบุบริเวณที่มีเลือดไหลมากที่สุดบนตัวของเหยื่อ
 
สัตว์อื่นที่มีตัวตรวจับความร้อนพิเศษรวมทั้ง [[แมลงทับ]]พันธุ์ ''Melanophila acuminata'' ซึ่งสืบหา[[ไฟป่า]]เพราะจะวางไข่ในต้นสนที่พึ่งตายเพราะไฟป่า,
บรรทัด 46:
[[หมวดหมู่:ระบบรับความรู้สึก]]
[[หมวดหมู่:อุณหภูมิ]]
[[en:Thermoception]]