ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แรงเคลื่อนไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|แรงดันไฟฟ้า}}
{{ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า}}
 
'''แรงเคลื่อนไฟฟ้า''' ({{lang-en|Electromotiveelectromotive force}}) หรือที่เรียกย่อว่า '''emf'''}} (สัญญลักษณ์สัญลักษณ์ <math>\mathcal{E}</math> และมีค่าเป็น[[โวลต์]])<ref>emf. (1992). ''American Heritage Dictionary of the English Language'' 3rd ed. Boston:Houghton Mifflin.</ref> เป็นแรงดันไฟฟ้าที่พัฒนาขึ้นมาจากแหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้าใด ๆ เช่น[[แบตเตอรี่]]หรือ[[เครื่องกำเนิดไฟฟ้า]] โดยทั่วไปมันจะถูกกำหนดให้เป็นศักย์ไฟฟ้าสำหรับ[[แหล่งจ่ายไฟ]]ในวงจร<ref>
{{cite journal
| journal = Transactions of the American Electrochemical Society
เส้น 13 ⟶ 15:
}}</ref> อุปกรณ์ที่จ่ายพลังงานไฟฟ้าจะถูกเรียกว่าแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้า ({{lang-en|bed of emf}}) หรือ '''emf'''. Emf จะแปลงพลังงานเคมี, พลังงานเครื่องกล, และพลังงานรูปแบบอื่นให้เป็นพลังงานไฟฟ้า<ref>{{cite book|last1=Tipler|first1=Paul A.|title=Physics|date=January 1976|publisher=Worth Publishers, Inc.|location=New York, NY|isbn=0-87901-041-X|page=803}}</ref> ผลผลิตของอุปกรณ์ดังกล่าวก็ยังถูกเรียกว่า '''emf''' อีกด้วย
 
คำว่า "แรงส์แรง" ในกรณีนี้ไม่ได้ใช้เพื่อหมายถึง[[แรง]]ในเชิงกลที่มีหน่วยเป็น[[นิวตัน]] แต่เป็นศักย์หรือพลังงานต่อหน่วยประจุ มีหน่วยเป็นโวลต์
 
ในการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า EMF สามารถถูกกำหนดรอบ ๆ วงรอบปิดวงหนึ่งว่าเป็น[[งาน]]แม่เหล็กไฟฟ้าที่กระทำบนประจุตัวหนึ่งถ้ามันเดินทางรอบวงนั้นหนึ่งรอบ<ref name=Cook>
เส้น 75 ⟶ 77:
ราวปี 1830 [[ไมเคิล ฟาราเดย์]]ระบุว่าปฏิกิริยาในแต่ละรอยต่อสองรอยต่อระหว่างขั้วไฟฟ้ากับสารอิเล็กโทรไลต์จะให้ "EMF" สำหรับเซลล์ไฟฟ้า นั่นคือ ปฏิกิริยาเหล่านี้เป็นตัวขับเคลิ่อนกระแสและไม่ได้เป็นแหล่งที่มาของพลังงานที่ไม่มีที่สิ้นสุดอย่างที่ติดไว้แต่แรก<ref>Florian Cajori (1899). A History of Physics in Its Elementary Branches: Including the Evolution of Physical Laboratories. The Macmillan Company. pp. 218–219.</ref> ในกรณีของวงจรเปิด การแยกตัวของประจุจะดำเนินต่อไปจนกระทั่งสนามไฟฟ้าจากประจุที่ถูกแยกตัวมีปริมาณเพียงพอที่จะหยุดปฏิกิริยา หลายปีก่อนหน้านี้ [[อาเลสซานโดร โวลตา]] ผู้ที่วัดความต่างศักย์ของจุดสัมผัสระหว่างโลหะกับโลหะ (ขั้วไฟฟ้ากับอิเล็กโทรด) ของเซลล์ของเขา เขาได้ให้ความคิดเห็นที่ไม่ถูกต้องที่ว่าจุดสัมผัสเพียงอย่างเดียว (โดยไม่คำนึงถึงปฏิกิริยาทางเคมี) เป็นต้นกำเนิดของ EMF
 
ในกรณีของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า สนามแม่เหล็กที่แปรตามเวลาภายในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะสร้างสนามไฟฟ้าผ่าน[[การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า]] ซึ่งมีผลในการสร้างความต่างแรงดันระหว่างขั้วทั้งสองของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า การแยกตัวของประจุจะเกิดขึ้นภายในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่อิเล็กตรอนจะไหลออกไปจากขั้วไฟฟ้าหนึ่งไปยังอีกขั้วไฟฟ้าหนึ่ง จนกระทั่ง ในกรณีวงจรเปิด สนามไฟฟ้าที่พอเพียงจะสะสมขึ้นจนทำให้การแยกตัวของประจุดำเนินต่อไปไม่ได้ อีกครั้ง EMF จะเผชิญหน้ากับแรงดันไฟฟ้าอันเกิดจากการแยกประจุ ถ้ามีโหลดต่อเข้าไป แรงดันไฟฟ้านี้สามารถขับเคลื่อนกระแสได้ หลักการทั่วไปในการควบคุม EMF ในเครื่องจักรไฟฟ้าดังกล่าวเป็น[[กฎของการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์]]
 
== สัญลักษณ์และหน่วยการวัด ==