ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามกลางเมืองเนปาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
{{flagicon image|CPI-M-flag.svg}} [[พรรคคอมมิวนิสต์อินเดีย (ลัทธิเหมา)]]
 
|commander1= {{flagicon|Nepal}} '''[[พระมหากษัตริย์เนปาล]]''':<br>[[สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาล]] ({{small|พ.ศ. 2515 - 2544)}}<br>[[ชญาเนนทระแห่งเนปาล]] ({{small|พ.ศ. 2544 - 2551)}}<br> {{flagicon|Nepal}}'''[[นายกรัฐมนตรีเนปาล]]''':<br>[[Sher Bahadur Deuba]] ({{small|1995-1997; 2001-02; 2004-05}})<br>[[Lokendra Bahadur Chand]] ({{small|1997-1997; 2002-03}})<br>[[Surya Bahadur Thapa]] ({{small|1997-1998; 2003-04}})<br> [[Girija Prasad Koirala]] ({{small|1998-1999; 2000-01; 2006-08}})<br>[[Krishna Prasad Bhattarai]] ({{small|1999-2000}})<br> {{flagicon|Nepal}}'''ผู้บัญชาการกองทัพเนปาล:'''<br> [[Dharmapaal Barsingh Thapa]] ({{small|1995-1999}}) <br> Prajwalla Shumsher JBR ({{small|1999-2003}}) <br>[[Pyar Jung Thapa]] ({{small|2003-2006}}) <br>[[Rookmangud Katawal]] ({{small|2006-2009}})<br>{{flagicon|Nepal}}'''[[Inspector General of Police (Nepal)|IGP of Nepal Police]]:''' <br>[[Moti Lal Bohora]] ({{small|1992-1996}}) <br> [[Achyut Krishna Kharel]] ({{small|1996–1996; 1996-1999}}) <br> [[Dhruba Bahadur Pradhan]] ({{small|1996–1996}})<br> [[Pradip Shumsher J.B.R.]] ({{small|1999–2002}})<br> [[Shyam Bhakta Thapa]] ({{small|2002-2006}})<br>[[Om Bikram Rana]] ({{small|2006-2008}})
|commander2= {{flagicon image|Flag of the Communist Party of Nepal (Maoist).svg}} [[Prachanda]]<br>{{small|([[Pushpa Kamal Dahal]])}}
<br>{{flagicon image|Flag of the Communist Party of Nepal (Maoist).svg}} [[Baburam Bhattarai]] {{small|Laldhwaj}}
บรรทัด 53:
 
[[ไฟล์:Maoist rebels on a hill in Nepal.jpg|thumb|right|ทหารฝ่าย [[พรรคคอมมิวนิสต์เนปาล (ลัทธิเหมา)|ลัทธิเหมา]] 3 คนรอบนยอดเขาในตำบลโรลปาระหว่างรอคำสั่งให้เคลื่อนย้าย]]
==การควบรวมกองทัพ==
[[กองทัพเนปาล]] (NA) สามารถควบคุม [[กองทัพปลดปล่อยประชาชนเนปาล]] (PLA), ซึ่งเป็นกองกำลังติดอาวุธของ [[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมากลาง)]] ได้เมื่อ 10 เมษายน พ.ศ. 2555<ref name="Nepal Eurasia Review">{{cite web|title=Nepal: Consolidating The Peace – Analysis|url=http://www.eurasiareview.com/24042012-nepal-consolidating-the-peace-analysis/|publisher=Eurasia Review|accessdate=24 April 2012}}</ref> นายกรัฐมนตรี [[บาบูรัม ภัตตาไร]], ผู้เป็นหัวหน้าของคณะกรรมการพิเศษเพื่อการควบควมกองทัพ (AISC) ได้บอกแก่คณะกรรมการเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2555 ว่า กองทัพเนปาลจะเคลื่อนกำลังเข้าไปในพื้นที่ของกองทัพปลดปล่อยประชาชนเนปาลเพื่อยึดครองขั้นสุดท้าย และยึดอาวุธจำนวนมากที่นั่น<ref name="Nepal Eurasia Review" /> โดยกระบวนการดังกล่าวจะเสร็จสมบูรณ์ภายในวันที่ 12 เมษายน<ref name="Nepal Eurasia Review" /> อย่างไรก็ตาม มีรายงานการปะทะกันที่ฐานทัพ นายกรัฐมนตรีเข้าพบผู้บัญชาการกองทัพเนปาล ฉัตระ มัน สิงห์ ฆูรุงในตอนเย็นวันที่ 10 เมษายน และสั่งให้ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ <ref name="Nepal Eurasia Review" /> กองทัพเนปาลเข้าโจมตีฐานทัพและคลังอาวุธในวันเดียวกันนั้น <ref name="Nepal Eurasia Review" /> การสู้รบเป็นไปด้วยความรุนแรง<ref name="Nepal Eurasia Review" /> ต่อมา กระบวนการนี้ได้หยุดชะงักในวันที่ 10 เมษายนตามคำขอของกลุ่มผู้นำกลุ่มลัทธิเหมา <ref name="Nepal Eurasia Review" /> และเริ่มต้นอีกครั้งในวันที่ 13 เมษายน และเสร็จสิ้นในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2555 มีทหารของฝ่ายกองทัพปลดปล่อยประชาชน 3,129 คน เลือกที่จะลงทะเบียนรวมกับกองทัพเนปาล <ref name="Nepal Eurasia Review" /> ทหารทั้งหมด 6,576 คน เลือกเกษียณอายุโดยสมัครใจ โดยจะได้รับเงิน 500,000 - 800,000 รูปีเนปาลขึ้นกับชั้นยศ<ref name="Nepal Eurasia Review" />
 
ในระยะแรกของการจัดกลุ่มใหม่ (18 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554) ทหารราว 9,705 คนเลือกรวมเข้ากับกองทัพเนปาล<ref name="Nepal Eurasia Review" /> คณะกรรมการได้เริ่มกระบวนการควบรวมตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ตามข้อตกลงที่ลงนามโดยพรรคการเมืองหลัก 3 พรรค– UCPN-M, [[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (รวมลัทธิมาร์ก-เลนิน)]] (CPN-UML) และ [[พรรคคองเกรสเนปาล]] (NC) – และองค์กรตัวแทนขแงกลุ่มมาเธสีหลายกลุ่ม, the [[สหแนวร่วมมาเธสีประชาธิปไตย]] (UDMF).<ref name="Nepal Eurasia Review" /> โดยมีทางเลือก 3 ทางให้กับทหารของกองทัพประชาชน – ควบรวม เกษียณอายุโดยสมัครใจ และฟื้นฟูขึ้นใหม่ <ref name="Nepal Eurasia Review" /> ทหาร 9,705 คนเลือกควบรวม 7,286 คนเลือกเกษียณอายุ และ 6 คน ต้องการการฟื้นฟู<ref name="Nepal Eurasia Review" /> [[ตัวแทนสหประชาชาติในเนปาล]] (UNMIN) ได้รับลงทะเบียนทหาร 19,602 คนเมื่อ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2550<ref name="Nepal Eurasia Review" />
 
เมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2555 คณะกรรมการตัดสินใจที่จะกำหนดยศของการควบรวมตามระบบของกองทัพเนปาล ไม่ใช่ระบบของกองทัพปลดปล่อยประชาชน <ref name="Nepal Eurasia Review" /> การคัดเลือกคณะกรรมการนำโดยประธานของคณะกรรมการบริการสาธารณะเนปาลในการกำหนดตำแหน่งรองรับทหารที่ควบรวมเข้ามา <ref name="Nepal Eurasia Review" /> ทหารต้องเข้ารับการฝึก 3-9 เดือน ขึ้นกับชั้นยศ <ref name="Nepal Eurasia Review" /> ในวันที่ 17 เมษายน กองทัพเนปาลกล่าวว่าไม่สามารถเริ่มกระบวนการรับสมัครสำหรับทหารของอดีตกลุ่มลัทธิเหมาได้ จนกว่าการจัดโครงสร้างระดับนายพลจะเสร็จสิ้น<ref name="Nepal Eurasia Review" /> ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2555 พรรคการเมืองหลักทั้งสามพรรค ตกลงที่จะรวมกันโดยสันติวิธีให้เป็นหนึ่งเดียว <ref name="Nepal Eurasia Review" />
 
==ช่วงเวลา==
===พ.ศ. 2539===
*'''13 กุมภาพันธ์''': เริ่มต้นสงครามกลางเมืองโดย [[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา)]]
**[[กาฏมาณฑุ]]: โรงงานผลิตน้ำอัดลม[[โคคา-โคลา]] ถูกโจมตี และตึกถูกเผา [http://bossnepal.com/bottlers-nepal-limited-bnl/]
**[[เขตกูรข่า]]
***โรงงานสุราของต่างชาติถูกทำลายลงอย่างสิ้นเชิง
***สำนักงานของโปรแกรมพัฒนาเกษตรกรรมขนาดเล็กของ [[ธนาคารพัฒนาการเกษตรแห่งเนปาล]] ในชยังลี ถูกรื้อค้น
**[[เขตกาฟรีปาลานโชก]]: บ้านของนายทุนถูกจู่โจมตอนกลางคืน ของมีค่าและเงิน 1.3 ล้านรูปีถูกยึด เอกสารการยืมเงินมูลค่าหลายล้านรูปีถูกทำลาย สมาชิกในครอบครัวของนายทุน 7 ถูกฆ่า
**[[เขตรอลปา]], [[เขตรูกุม]] และ [[เขตสินธุลี]]: ตำรวจตั้งด่านตรวจค้นในแต่ละเขต ด่านตรวจค้นในรอลปาถูกยึด รวมทั้งในรูกุม สำนักงานไปรษณีย์ในสินธุลีถูกยึด ตำรวจถูกฆ่า 17 คน และผู้ก่อการร้ายลัทธิเหมาถูกฆ่าเพียงคนเดียว
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง|30em}}